วงจรไฟฟ้า

Electric Circuits

1.1 เข้าใจกฎของวงจรไฟฟ้า  
1.2 เข้าใจทฤษฎีวงจรไฟฟ้า
1.3 เข้าใจการทำงานอุปกรณ์พาสซีพกับไฟฟ้ากระแสตรงและสลับ
1.4 เข้าใจการหาการตอบสนองต่อเวลาและความถี่
1.5 เข้าใจการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์
1.6 เห็นความสำคัญของวิชาวงจรไฟฟ้า
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐานและเข้าใจในเรื่องกฎของวงจรไฟฟ้า ทฤษฎีวงจรไฟฟ้า  การทำงานอุปกรณ์พาสซีพกับไฟฟ้ากระแสตรงและสลับ  การหาการตอบสนองต่อเวลาและความถี่  การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบวงจรไฟฟ้า  กฎของโอห์มและเคอร์ชอฟฟ์  สัญญาณแบบซายนูซอยดัล จำนวนเชิงซ้อน การวิเคราะห์วงจรตามหลักการโนด และเมซ ทฤษฎีบทของเทเวนินและนอร์ตัน การตอบสนองต่อเวลา  วงจรไฟฟ้าสามเฟส การแปลงวงจรสามเฟสระหว่างแบบสตาร์กับแบบเดลต้า  การปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า การถ่ายทอดกำลังไฟฟ้าสูงสุด วงจรรีโซแนนซ์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายวิชาหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ดังนี้

(1) แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
(2) สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู
(3) แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี
(4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1) กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี เช่นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย
(2) กาหนดให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทางานกลุ่ม โดยฝึกให้รู้บทบาทและหน้าที่ของการเป็นผู้นากลุ่ม การเป็นสมาชิกกลุ่ม การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งการเห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(3) สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชา ในด้านความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
(4) จัดกิจกรรมส่งเสริม แล ะคิดแก้ปัญ ห าท างคุณ ธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณ วิชาชีพครู และการมีจิตสานึกสาธารณะ เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำความดีการทำประโยชน์และเสียสละแก่ส่วนรวม
(1) ประเมินด้านจิตพิสัยของนักศึกษา เช่น การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียนการแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด และการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(2) ประเมินความรับผิดชอบในการทางานเป็นกลุ่ม การนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และการรับฟังความคิดเห็นจากอาจารย์ผู้สอนและกลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน
(3) ประเมินจากรายงานการกระทาทุจริตในการสอบ การมีมารยาททางวิชาการ และการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
(4) ประเมินผลจากรายงานการจัดกิจกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพครู และการมีจิตสานึกสาธารณะ
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของรายวิชาวงจรไฟฟ้า ซึ่งมีมาตรฐานความรู้ครอบคลุมดังนี้ (1) มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาวงจรไฟฟ้าอย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาวงจรไฟฟ้าเฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสาคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
(3) สามารถนาหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
(1) เลือกใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมตามหัวข้อของลักษณะรายวิชา โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามสภาพจริง
(2) ส่งเสริมและชี้แนะให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางวิชาการ รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม แล้วนามาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ
(3) ส่งเสริมและชี้แนะการบูรณาการนาความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นๆ เพื่อนามา ประยุกต์เข้ากับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนการฝึกงานในสถานประกอบการ และปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆดังนี้ (1) ประเมินผลตลอดภาคเรียน
(2) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
(3) ประเมินผลจากการนาเสนอโครงการ
(4) ประเมินผลจากการฝึกงานในสถานประกอบการ
(5) ประเมินผลจากการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
นักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาควบคู่กับคุณธรรมและจริยธรรมและความรู้ทางด้านวิชาชีพ โดยกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผลเข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ดังนั้นมาตรฐานทักษะทางปัญญาต้องครอบคลุมดังนี้
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
(2) มีทักษะในการเป็นผู้นาความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
(1) ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ
(2) ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ แล้ววินิจฉัย และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ         
(1) ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
(2) ประเมินผลจากการฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ
(3) ประเมินผลจากการอภิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหา ในประเด็นที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับคนที่ไม่รู้จักมาก่อนการมี ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆ เป็นเรื่องจาเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนต้อง สอดแทรกวิธีการที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาระหว่างที่สอนเกี่ยวกับคุณสมบัติต่างๆ ดังนี้
(1) แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นและมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
(2) แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
(3) สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทางานเป็นทีมช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
(4) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางาน และมีจิตสานึกต่อสังคมด้านการนาความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
(1) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มที่แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
(2) ส่งเสริมการนาเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ
(3) กาหนดบทบาท หน้าที่ การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
(4) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการบริการทางวิชาการต่อสังคม            
(1) ประเมินพฤติกรรมจากการแสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
(2) ประเมินผลการนาเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ
(3) ประเมินผลการทางานเป็นทีมตามที่ได้รับมอบหมาย
(4) ประเมินผลการดาเนินการบริการทางวิชาการต่อสังคม
(1) มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทาให้สามารถเข้าใจองค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
(2) สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) สามารถสนทนา เขียน และนาเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ  
(1) ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสาคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
(2) วิเคราะห์และแปลความหมายจากข้อมูลข่าวสาร
(3) นาเสนอรายงานด้านวิชาการโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ     
(1) ความสามารถในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามข้อมูลข่าวสาร
(2) ความสามารถในการวิเคราะห์และแปลความหมาย
(3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงาน
(4) จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
การทางานในสถานศึกษา สถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะการปฏิบัติ การวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไขรวมถึงการมีทักษะการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายตามสภาพ จริง ดังนั้นในการเรียนการสอนจึงต้องมุ่งเน้นการสร้างทักษะการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้ดังต่อไปนี้
(1) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์
(2) แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมี นวัตกรรม
(1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
(2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
(3) สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
(4) จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
(5) สนับสนุนการจัดทาโครงงาน
(6) การฝึกงานในสถานประกอบการ
(7) การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู                   
(1) ประเมินจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน
(2) ประเมินผลทักษะในการปฏิบัติงาน
(3) ประเมินผลจากโครงงานนักศึกษา
(4) ประเมินผลการฝึกงานในสถานประกอบการ
(5) ประเมินผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านความสัมพันธ์บุคคล และความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE401 วงจรไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม (1) ประเมินด้านจิตพิสัยของนักศึกษา เช่น การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด และการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร (2) ประเมินความรับผิดชอบในการทางานเป็นกลุ่ม การนาเสนอรายงานหน้า ชั้นเรียน และการรับฟังความคิดเห็นจากอาจารย์ผู้สอนและกลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน (3) ประเมินจากรายงานการกระทาทุจริตในการสอบ การมีมารยาททาง วิชาการ และการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น (4) ประเมินผลจากรายงานการจัดกิจกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และการมีจิตสานึกสาธารณะ ทุกสัปดาห์ 20%
2 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ (1) ประเมินผลตลอดภาคเรียน (2) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย (3) ประเมินผลจากการนาเสนอโครงการ (4) ประเมินผลจากการฝึกงานในสถานประกอบการ (5) ประเมินผลจากการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู สัปดาห์ที่ 6 9 14 และ 17 30%
3 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา (1) ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (2) ประเมินผลจากการฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ (3) ประเมินผลจากการอภิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหา ในประเด็นที่ได้ จากการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ สัปดาห์ที่ 9 และ 17 20%
4 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคล และความรับผิดชอบ (1) ประเมินพฤติกรรมจากการแสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (2) ประเมินผลการนาเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ (3) ประเมินผลการทางานเป็นทีมตามที่ได้รับมอบหมาย (4) ประเมินผลการดาเนินการบริการทางวิชาการต่อสังคม ทุกสัปดาห์ 10%
5 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) ความสามารถในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามข้อมูล ข่าวสาร (2) ความสามารถในการวิเคราะห์และแปลความหมาย (3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงาน (4) จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์และวัฒนธรรมสากล ทุกสัปดาห์ 10%
6 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้ (1) ประเมินจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน (2) ประเมินผลทักษะในการปฏิบัติงาน (3) ประเมินผลจากโครงงานนักศึกษา (4) ประเมินผลการฝึกงานในสถานประกอบการ (5) ประเมินผลการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู ทุกสัปดาห์ 10%
1.นิรันดร์ คำประเสริฐ ,"คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า 1 อนุกรมฟูเรียร์และฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์ม", ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ , พิมพ์ครั้งที่ 1 , 2537 
2.ปิยะ โควินท์ทวีวัฒน์, สัญญาณและระบบ (signals and systems), เพชรเกษมการพิมพ์, 2552.    
3.มงคล เดชนครินทร์ , "คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า" , สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , พิมพ์ครั้งที่ 1 , 2536สารานุกรมโทรคมนาคมไทย Thai Telecommunications Encyclopedla.  กรุงเทพฯ:
4.สมาคมวิชาการไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม และสารสนเทศ(อีซีทีไอ). 2552
5.ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ และคณะ, MATLAB การประยุกต์ใช้งานทางวิศวกรรมไฟฟ้า, ครั้งที่ 4, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษามีส่วนร่วมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตของผู้สอน
2.2   การทำแบบฝึกหัด
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชาจะจัดให้มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา โดยการสอบถามนักศึกษาหรือการตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจแบบฝึกหัดของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงหัวข้องานที่มอบหมายและวิธีการสอน สื่อประกอบการสอนภาคการศึกษาที่ทำการสอน ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ