หลักการของระบบสื่อสาร

Principles of Communication

1. รู้ความเป็นมาของหลักการสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้าในลักษณะต่างๆ
2. เข้าใจแบบจำลองทางการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและแบบไร้สายนำสัญญาณ
3. เข้าใจหลักการของสัญญาณและระบบ
4. เข้าใจสเปคตรัมของสัญญาณ
5. สามารถแปลงฟูริเยอร์ของสัญญาณ และการประยุกต์ใช้งาน
6. เข้าใจการมอดูเลทแบบแอนะล็อกและแบบดิจิทัล
7. เข้าใจสัญญาณรบกวนและผลต่างๆที่เกิดขึ้นในระบบสื่อสาร
8. เข้าใจการมอดูเลทสัญญาณแบบไบนารี่
9. เข้าใจหลักการสุมสัญญาณ ความถี่ไนควิสท์และการจัดระดับ
10. เข้าใจการมอดูเลทสัญญาณแบบพัลซ์ PCM และ DM
11. เข้าใจหลักการมัลติเพล็กซ์และการดีมัลติเพล็กซ์สัญญาณ
12. เข้าใจหลักการของสายนำสัญญาณและการแพร่กระจายคลื่น
13. เข้าใจหลักการทำงานของอุกรณ์สื่อสารและไมโครเวฟ
14. เข้าใจหลักการทำงานของอุปกรณ์การสื่อสารและไมโครเวฟ
15. เข้าใจระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมและหลักการสื่อสารทางแสงเบื้องต้น
เพื่อให้ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของระบบสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้า  โมเดลของการสื่อสารทั้งแบบมีสายและแบบไร้สาย  กล่าวนำเกี่ยวกับสัญญาณและระบบ  สเปคตรัมของสัญญาณและการประยุกต์ของอนุกรมฟูริเยอร์และการแปลงฟูริเยอร์  การมอดูเลตและดีมอดูเลตแบบ AM, DSB, SSB, FM, NB/WBFM, PM  สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในระบบสื่อสาร  การมอดูเลตแบบไบนารี  ทฤษฎีการสุ่มสัญญาณ ความถี่ไนควิสท์และการจัดระดับ (Quantization)  การมอดูเลตแบบพัลส์ PCM และ DM  เทคนิคการมัลติเพล็กซ์และดีมัลติเพล็กซ์  กล่าวนำเกี่ยวกับสายนำสัญญาณ  การแพร่กระจายคลื่น  อุปกรณ์การสื่อสารและไมโครเวฟ  การสื่อสารผ่านดาวเทียมและการสื่อสารทางแสงเบื้องต้น
The purpose of this subject is to study the principle of Communication with electrical signaling, communication models with used the wire or cable and the wireless or radio communication; Introduction to signal and system; spectrum of signal; Fourier series and transform applications; An analog modulation, AM, DSB, SSB, FM, NB/WBFM, PM; noises in analog communication; binary baseband modulation; Nyquist’s sampling theory and quantization; pulse analog modulation, PCM, DM; multiplexing techniques;  transmission lines, radio wave propagation, microwave components and communication, satellite communications, optical communication
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของระบบสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้า  โมเดลของการสื่อสารทั้งแบบมีสายและแบบไร้สาย  กล่าวนำเกี่ยวกับสัญญาณและระบบ  สเปคตรัมของสัญญาณและการประยุกต์ของอนุกรมฟูริเยอร์และการแปลงฟูริเยอร์  การมอดูเลตและดีมอดูเลตแบบ AM, DSB, SSB, FM, NB/WBFM, PM  สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในระบบสื่อสาร  การมอดูเลตแบบไบนารี  ทฤษฎีการสุ่มสัญญาณ ความถี่ไนควิสท์และการจัดระดับ (Quantization)  การมอดูเลตแบบพัลส์ PCM และ DM  เทคนิคการมัลติเพล็กซ์และดีมัลติเพล็กซ์  กล่าวนำเกี่ยวกับสายนำสัญญาณ  การแพร่กระจายคลื่น  อุปกรณ์การสื่อสารและไมโครเวฟ  การสื่อสารผ่านดาวเทียมและการสื่อสารทางแสงเบื้องต้น
  -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.2 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.4 การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่นการตรงต่อเวลา การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ฯลฯ
1.2.2 ใช้ระบบการสอนแบบการสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีโอกาสตั้งคำถาม ตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆทางด้านจริยธรรม เช่น เรื่องความมีวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ฯลฯ
1.3.1 ประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาที่แสดงออกในชั้นเรียน ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นต่างๆทางด้าน
จริยธรรม
1.3.2 ประเมินการมีวินัยและความรับผิดชอบของนักศึกษาต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การจัดส่งรายงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดถึงการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
- มีความรู้และเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับหลักการของระบบสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้าหลักการของระบบสื่อสารด้วยสัญญาณไฟฟ้า  โมเดลของการสื่อสารทั้งแบบมีสายและแบบไร้สาย  กล่าวนำเกี่ยวกับสัญญาณและระบบ  สเปคตรัมของสัญญาณและการประยุกต์ของอนุกรมฟูริเยอร์และการแปลงฟูริเยอร์  การมอดูเลตและดีมอดูเลตแบบ AM, DSB, SSB, FM, NB/WBFM, PM  สัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในระบบสื่อสาร  การมอดูเลตแบบไบนารี  ทฤษฎีการสุ่มสัญญาณ ความถี่ไนควิสท์และการจัดระดับ (Quantization)  การมอดูเลตแบบพัลส์ PCM และ DM  เทคนิคการมัลติเพล็กซ์และดีมัลติเพล็กซ์  กล่าวนำเกี่ยวกับสายนำสัญญาณ  การแพร่กระจายคลื่น  อุปกรณ์การสื่อสารและไมโครเวฟ  การสื่อสารผ่านดาวเทียมและการสื่อสารทางแสงเบื้องต้น
บรรยาย อภิปราย การทารายงานและการนาเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   การสอบกลางภาค
2.3.2   การสอบปลายภาค
2.3.3   การทำรายงานกลุ่ม
2.3.4   การมีส่วนร่วมในการเรียน และการตรงต่อเวลา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเองมีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  สถานการณ์จำลองในการประยุกต์ใช้การวัดและเครื่องมือทางไฟฟ้า
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้การวัดและเครื่องมือทางไฟฟ้า
3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
       4.2.1   จัดกิจกรรมในชั้นเรียนเพื่อให้นักศึกษามีโอกาสมีปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาที่เรียนด้วยกัน
       4.2.2   มอบหมายรายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มรายงานตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย
       4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะด้านการคำนวณตามที่ปรากฏในบทเรียนต่างๆ
5.1.2  ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   ทักษะในการแก้ไขปัญหาโดยการประยุกต์ใช้หลักการต่างๆของการวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้าต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
5.1.4   ทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   บรรยายโดยอาศัยเอกสารประกอบการสอน/เอกสารนำเสนอในการสอน และยกตัวอย่างโจทย์รวมถึงวิธีการแก้ปัญหา
5.2.2    กระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลและการนำเสนอรายงาน
5.2.3   แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.4   การมอบหมายรายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการจัดทำรายงาน รวมถึงต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น Power point ฯลฯ
5.3.1   ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
5.3.2   ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
5.3.4   ประเมินทักษะในการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศจากเนื้อหาของเอกสารรายงาน
5.3.5   ประเมินทักษะด้านการคำนวณและแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าวข้างต้นด้วยการสอบกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 ENGEE201 หลักการของระบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, 5.2 สอบกลางภาค 8 งานพิเศษ 13 สอบปลายภาค 17 8,13,17 25%,30%,25%
- John Pearson,(1991) Basic Communication Theory l, Prentice Hall International. London
- Louis E. Frenzel Jr, Principles of Electronic Communication Systems, 4th Edition, MC Grall Hill: New-York, 2016
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพ
มากขึ้น ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ