การออกแบบเซรามิก

Ceramics Design

เข้าใจแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก การเตรียมการเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก ประเภทของที่ระลึกและของตกแต่ง กระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก การนำเนอผลการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก ในการนำความรู้ ความเข้าใจหลักการและทักษะการออกแบบรูปทรงให้สัมพันธ์กับลวดลาย เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ใช้กับอาหาร โครงงานเซรามิก และยังสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพการรับจ้างผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก และนักออกแบบเซรามิก
ศึกษาเกี่ยวกับ เข้าใจแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก การเตรียมการเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก ประเภทของที่ระลึกและของตกแต่ง กระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก การนำเนอผลการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ผลการเรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม

พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
สอนสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวิยัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
 
 
2.ผลการเรียนด้านความรู้
2.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา


  2.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวของ
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานโดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เปฝ้นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยาการพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการฝรืหรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.3.1   ทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและ ปลายภาคเรียน
2.3.3   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4  ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่มร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานการปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนอ
4.1.1   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2   สามารถสืนค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาได้วิเคราห์สถานการณ์จำลองและสถานณการณ์จริง แล้วนำเสนอในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบายการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู่ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BTECE131 การออกแบบเซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 และ4 แบบฝึกหัดและรายงาน จิตพิสัย แบบฝึกหัดและรายงาน ตลอดภาคเรียน จิตพิสัย ตลอดภาคเรียน แบบฝึกหัด 40% จิตพิสัย 10%
2 2 และ 3 สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 8 และ 16 40%
3 5 รายงาน ตลอดภาคเรียน 10%
1. กลยุทธ์ (นามแฝง). (2543). Market Trend : วิเคราะห์สี ชี้ Trend ตลาด กับเนลลี่ โรดี  Giving Ideas.  2(5)  62
2. กองส่งเสริมหัตถกรรมไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2538). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตกรรมไทย ในประเทศสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
3. กองส่งเสริมหัตถกรรมไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2539). ผลิตภัณฑ์หัตกรรมในตลาดสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: ประชาชน.
4. กิจฐิภัทร  เทพาคำ. (2543). Giving Fortune : คุยกันเรื่องบ้าน ดวง และฮวงจุ้ย  Giving Ideas.  2(5)  42-43
5. กฤษณา  คำไทย. (2543). Intro Gift Mart : ตลาดของขวัญของชำร่วยญี่ปุ่น  Giving Ideas.  2(5)  32-35
6. กฤษณา  คำไทย. (2543). Intro Gift Mart : ตลาดของขวัญของชำร่วยดูไบ  Giving Ideas.  2(5)  36-39
7. จิรวรรณ  สุขพัฒน์. (2540). Hotline Ceramic : คุยกับราชาของที่ระลึกขนาดเล็ก คิด โรจนเพ็ญกุล  เซรามิกส์. 3(7). 62-65
8. ชุดา  สีโนนม่วง..(2539). Ceramic Design : บทพิสูจน์ผลงานการออกแบบของนักศึกษาไทย..เซรามิกส์. 2(4). 46-49
9. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : งานสร้างสรรค์ของนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง..เซรามิกส์. 2(6). 48-51
10. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : งานการออกแบบสร้างสรรค์ของนิสิต มศว ประสานมิตร..เซรามิกส์. 3(7). 96-99
11. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : ศิลปนิพนธ์ ม.ศิลปากร..เซรามิกส์. 3(8). 96-99
12. ชุดา  สีโนนม่วง..(2541). Ceramic Design : 5 ผลงานนักศึกษาไทย สู่ศิลปะเซรามิก..เซรามิกส์. 3(9). 96-99
13. ดนต์  รัตนทัศนีย์. (2526). ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. (เอกสารอัดสำเนา) กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
14. ดาวรุ่ง  พรสาธิต. (2538). เรื่องจากปก : ชามตราไก่.. เซรามิกส์. 1(2). 9
15. ธีระชัย  สุขสด, ผศ. (2544). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:    โอเดียนสโตร์.
16. นพวรรณ  หมั้นทรัพย์. (2539). การออกแบบเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: โครงการตำราวิทยาเขตภาคพายัพ.
17. นวลน้อย  บุญวงษ์. (2539). หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
18. ประดิษฐ์  ศรีวิชัยนันท์. (2539).  Special : เซลาดอน  . เซรามิกส์. 2(5). 21-43
19. ประเสริฐ  ศิลรัตนา. (2531). ของที่ระลึก. กรุงเทพฯ:    โอเดียนสโตร์.
20. พรรณี  อุปถัมภ์. The Exotic : เซรามิกอิตาลี  เซรามิกส์. 5(11). 96-99
21. วนิดา  ทองรวย. (2540). Special : เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร. เซรามิกส์. 2(6). 24-43
22. วิรุณ  ตั้งเจริญ. (2537). ออกแบบ2มิติ. (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
23. วิรุณ  ตั้งเจริญ. (2539). การออกแบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
24. เวนิช สุวรรณโมลี. (2540)  Decor Ceramic :  ธรรมชาติ แนวทางในการออกแบบเซรามิก(ที่ใช้กันมานานแล้ว). เซรามิกส์. 2(6). 58-61
25. เวนิช สุวรรณโมลี. (2543). Ceramic Design : การออกแบบและแนวคิดสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา  เซรามิกส์. 5(11). 50-54
26. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2537). Lampang Ceramic 1994-1995.  กรุงเทพฯ: เยียร์บุ๊คพับลิชเชอร์.
27. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2538). Lampang Ceramic 1995-1996.  ลำปาง: จิตวัฒนาการพิมพ์.
28. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2540). Lampang Ceramic 1997-1998.  ลำปาง: จิตวัฒนาการพิมพ์.
29. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2543). Lampang Ceramic 2000.  เชียงใหม่: ทรีโอ แอดเวอร์ไทซิ่ง แอนด์ มีเดีย.
30. สาคร  คันธโชติ. (2528). การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
31. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2538). สเปเชี่ยล : ดิน : เครื่องปั้นดินเผา. เซรามิกส์. 1(1). 22-41
32. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2538). สเปเชี่ยล : เครื่องลายคราม..เซรามิกส์. 1(3). 22-45
33. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2540). Special : ตุ๊กตาเซรามิก..เซรามิกส์. 3(7). 28-51
34. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2529). มอก.564-2528 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: ปอร์ซเลน. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
35. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2529). มอก.601-2529 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: เออร์เทนแวร์. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
36. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2539). มอก.32-2524 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: ปริมาณและวิธีวิเคราะห์ตะกั่วและคัดเมียม. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
37.CERAM Research Limited (2003) UKAS Testing. Stoke-on-Trent England.
38. Collins Education. (1989). Collins CDT: Technology. Musselburgh, London: Scotprint.
39. French, N. (1998). The Potter’s Directory of Shape and Form. Singapore: Page One.
ไม่มี
www.ceram.co.uk