เคมีอาหาร

Food Chemistry

1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.4  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
1.5  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
     ศึกษาและฝึกปฏิบัติ บทบาทและความสำคัญขององค์ประกอบต่อคุณภาพ และความคงตัวของอาหาร สมบัติทางเคมี-ชีวเคมี สมบัติเชิงหน้าที่ขององค์ประกอบหลักและองค์ประกอบรองในอาหาร อันตรกิริยาและการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบหลักและองค์ประกอบรองในอาหารต่อคุณภาพอาหาร และการป้องกันการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ

     Study and practice of roles and significance of food component on qualities and stability of food; chemical, biochemical, functional properties of major and minor components; interaction and changes of major and minor food components affecting food qualities including the prevention of quality changes.
3.1 วัน จันทร์ -  อังคาร เวลา 14.00 - 15.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร.  087-6769051

3.2  e-mail; donporn.w@gmail.com เวลา 09.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และความรับผิดชอบต่อตนเอง  วิชาชีพ และสังคม
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยาย กรณีศึกษา
2. การทดลอง การปฏิบัติ
3. การค้นคว้าความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวข้องในขณะนั้น
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. โครงงาน
4. การอภิปราย
5. การสอบปากเปล่า
6. การนำเสนองาน
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. บรรยาย กรณีศึกษา
2. การทดลอง การปฏิบัติ
3. การค้นคว้าความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวข้องในขณะนั้น
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. โครงงาน
4. การอภิปราย
5. การสอบปากเปล่า
6. การนำเสนองาน
1.  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. เรียนรู้จากการทำงานเป็นทีมผ่านการทำทดลองเป็นกลุ่ม หรือการทำงานกลุ่มในรูปแบบต่าง ๆ  
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอรายงานผลการปฏิบัติการ
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการ
2. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการโดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการได้อย่างเหมาะสม
1. บรรยาย กรณีศึกษา
2. การทดลอง การปฏิบัติ
3. การค้นคว้าความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวข้องในขณะนั้น
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอรายงานผลการปฏิบัติการ
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFN101 เคมีอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.1,5.3 การสอบกลางภาค 9 25
2 2.1, 3.1,5.3 การสอบปลายภาค 17 25
3 2.1, 3.1,5.3 การทดสอบย่อย 8 และ 16 20
4 1.3, 2.1, 4.3, 5.2, 5.3 -การส่งงานตามที่มอบหมาย -การศึกษาค้นคว้าและการนำเสนอ -การเข้าร่วมกิจกรรมและการฝึกปฏิบัติ -การทำงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 20
5 1.2, 4.1, 4.3 -จิตพิสัย - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10
1. เคมีอาหาร, รัชนี ตันตะพาณิชกุล, พิมพ์ครั้งที่ 7, กรุงเทพ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542.
2. เอกสารประกอบการสอนวิชา BSCFN101 เคมีอาหาร
1. เคมีอาหาร (FOOD CHEMISTRY), นิธิยา รัตนาปนนท์, พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ :  สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2557.
1. เคมีอาหาร / Food chemistry [http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1626/%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3-food-chemistry]
2. เคมีอาหาร (food chemistry) [http://www.scimath.org/lesson-chemistry/item/7185-food-chemistry]
3. Food Chemistry [https://en.wikipedia.org/wiki/Food_chemistry]
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
     การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
     หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2  มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
     ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
     จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
     ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย