ความมั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอร์และข้อมูล

Computer and Data Security

ศึกษาถึงแนวโน้มของความไม่ปลอดภัยในสภาวะการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์การวางแผนและจัดการระบบความปลอดภัยในระบบฐานข้อมูล ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ความปลอดภัยในโครงข่ายการสื่อสารข้อมูล การป้องกันทางกายภาพ การวิเคราะห์ความเสี่ยงใน เรื่องความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ และความปลอดภัยของข้อมูลในอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
2.1 นักศึกษาสามารถอธิบายหน้าที่ด้านการรักษาความปลอดภัยของผู้จัดการระบบเครือข่ายได้
2.2 นักศึกษารู้จักอุปกรณ์ที่นํามาใช้ในการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ
2.3 นักศึกษารู้จักซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการรักษาความปลอดภัย
2.4 นักศึกษาสามารถนํามาความรู้ที่ศึกษามาจากบทเรียนนี้มาใช้ในการรักษาความปลอดภัยของสารสนเทศได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ วิทยาการเข้ารหัสลับ การเข้าและถอดรหัสลับแบบต่างๆ อัลกอริทึมในการเข้ารหัสลับ การระบุตัวตน การวิเคราะห์คุณลักษณะสมบัติของข้อมูลสำหรับลดความซับซ้อนขบวนการเข้ารหัสลับ การลดเวลาและภาระการประมวลผลเข้ารหัสลับ การฝังสัญญาณลายน้ำ และความปลอดภัยในการสื่อสารข้อมูล รวมถึงความปลอดภัยของข้อมูลในอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาแก่นักศึกษา อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 พัฒนาผู็เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.1.2 เคารพในบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทําหน้าที่ออกแบบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตามในการ ทํางานเป็นทีม
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
1.2.1  การมอบหมายงานให้นักศึกษาทํางานเดี่ยวและงานกลุ่ม เพื่อนักศึกษาจะได้เรียนรู้การวางแผนการทํางาน การแลกเปลยี่นความคดิเห็น มีการค้นคว้าข้อมูล และมีความสามัคคี
1.2.2 สอดแทรกเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับ การมีจรยิธรรมจิตสาธารณ การมีส่วนร่วมต่อสังคม การช่วยเหลือสังคม การมีสัมมาคารวะ เพื่อปลูกฝัง ให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ และมีน้ําใจช่วยเหลือผู้อื่น
ประเมินจากการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมในการมีส่วนร่วมใน การทํางานกลุ่ม การตรงต่อ เวลาในการเข้าชั้นเรียน และส่ง งานตามที่ไดร้ับมอบหมาย รวมทั้งสังเกต ลักษณะการ พูดจา
ความไม่ปลอดภัยในสภาวะการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์การวางแผนและจัดการระบบ ความปลอดภัยในระบบฐานข้อมูล ความปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลความปลอดภัย ในโครงข่ายการสื่อสารข้อมูล การป้องกันทางกายภาพ การวิเคราะห์ความเสี่ยงในเรื่องความ ปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอร์
บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุ่ม การนําเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ  ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนํามาสรุปและนําเสนอ การฝึกปฏิบัติ และสร้างชิ้นงานจริง ที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎีและฝึกปฏิบัติ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า
3.2.1 การมอบหมายให้นักศึกษาทําโครงงาน และนําเสนอผลการศึกษา
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 ฝึกปฏิบัติ
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด ในการประยุกต์ใช้สื่อการเรียนการสอน
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายโดย ใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอํานวย ความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือในบทบาท ของผู้ร่วมทีมทํางาน
4.1.3 สามารถใช้ความรู้ด้านวิทยาการ คอมพิวเตอร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทําของ ตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อม ทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและ ของกลุ่ม
4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้ง ของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษามอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การเจาะระบบเครือข่าย ตัวอย่างการใช้วิธีการเจาะระบบ web site
รายงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเป็นทีม รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จําเป็นท่ีมีอยู่ในปัจจุบันในการทํางานท่ีเก่ียวกับคอมพิวเตอร์
5.1.2 สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหา โดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ การแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้อง อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้ง การพูดและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของ สื่อการนําเสนออย่างเหมาะสม
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 สอนเนื้อหาทฤษฎีเชิงปฏิบัติ โดย การให้โจทย์ให้ฝึกคิด 
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าดว้ย ตนเอง นําเสนอในรูปของรายงาน และทดลองในฮารด์แวร์จริง
ประเมินจากการทําโจทย์ใน ห้องเรียน ประเมินผลจากรายงานการ นําเสนอ
เน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางวงจรดิจิทัล ดังข้อต่อไปนี้ 
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ฝึกปฏิบัติการทดลอง
สังเกตขั้นตอนปฏิบัติงานและความเชี่ยวชาญ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2
1 ENGCE110 ความมั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอร์และข้อมูล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1,สอบกลางภาค,ทดสอบย่อยครั้งที่ 2,สอบปลายภาค 4,8,12,17 10%,25%,10%,25%
2 1.1,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2,4.1-4.6,5.3-5.4 วิเคราห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ,รายงาน,การทำงานกลุ่มและผลงาน,การอ่านและสรุปความ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-1.7,3.1 การส่งงานตามที่มอบหมาย,การเข้าชั้นเรียน,การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
วิทยาการรหัสลับ (Cryptography) โดยวรเศรษฐ สุวรรณิก
Cryptography and Network Security Principles and Practices, Fourth Edition By William Stallings
วิทยาการรหัสลับเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematic Cryptography) โดย ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
Network Security ฉบับบก้าวสู่นักทดสอบและการป้องกันการเจาะระบบ, กรุงเทพ : EZ-Genius, 2556
ธวัชชัย ชมศิริ , Computer & Network Security ความปลอดภัยของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์., กรุงเทพฯ : Provision, 2553
Applied Cryptography: Protocols, Algorithms, and Source Code in C by Bruce Schneier
 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐
 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๔ และ พ.ศ.๒๕๕๑
https://www.thaicert.or.th
https://www.cryptool.org/en/
Practical Cryptography by Niels Ferguson and Bruce Schneier
ISO/IEC 27000 series Standards
The CERT Guide to System and Network Security Practices by Julia H. Allen
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 การสะท้อนความคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
2.3 การสังเกตการณ์สอน ของผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2 การวิจัยนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา  ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ