การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย

Data Communication and Networking

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย สถาปัตยกรรมแบบเป็นลำดับขั้นของโครงข่าย โปรโตคอลและการเชื่อมต่อจุดต่อจุด แบบจำลองความล่าช้าในโครงข่ายการสื่อสาร โปรโตคอลชั้นสื่อสารย่อยควบคุมการใช้สื่อการทำงานในชั้นเชื่อมต่อข้อมูล การควบคุมการไหลของข้อมูล การควบคุมความผิดพลาดโครงข่ายท้องถิ่น โครงข่ายสวิตช์ชิ่ง การจัดหาเส้นทางเดินให้กับข้อมูลในโครงข่าย ความปลอดภัยของข้อมูล การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ สถาปัตยกรรมและระบบของโครงข่าย มาตรฐานต่างๆ
Study of introduction to data communications and networks; layered network architecture; point-to-point protocols and links; delay models in data networks; medium-access control protocols; flow control; error control; local area network; switching network; routing in data networks; network security; cloud network, architecture and system; standards.
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้าน การสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายการสื่อสาร ให้มีความรู้ความเข้าใจในสถาปัตยกรรมของการสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย เพื่อนำไปใช้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องได้ สามารถทราบรูปแบบการเชื่อมต่อ  การติดต่อสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ โครงข่ายชนิดต่างๆ ตลอดจนเข้าใจรูปแบบของข้อมูลที่แท้จริง ซึ่งสามารถนำไปใช้กับระบบการสื่อสารข้อมูลทั้งระบบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย สถาปัตยกรรมแบบเป็นลำดับขั้นของโครงข่าย โปรโตคอลและการเชื่อมต่อจุดต่อจุด แบบจำลองความล่าช้าในโครงข่ายการสื่อสาร โปรโตคอลชั้นสื่อสารย่อยควบคุมการใช้สื่อการทำงานในชั้นเชื่อมต่อข้อมูล การควบคุมการไหลของข้อมูล การควบคุมความผิดพลาดโครงข่ายท้องถิ่น โครงข่ายสวิตช์ชิ่ง การจัดหาเส้นทางเดินให้กับข้อมูลในโครงข่าย ความปลอดภัยของข้อมูล การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ สถาปัตยกรรมและระบบของโครงข่าย มาตรฐานต่างๆ
Study of introduction to data communications and networks; layered network architecture; point-to-point protocols and links; delay models in data networks; medium-access control protocols; flow control; error control; local area network; switching network; routing in data networks; network security; cloud network, architecture and system; standards.
- ชั่วโมง
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา

พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัยในการเรียน มีจรรยาบรรวิชาชีพ เคารพใน
สิทธิ์ของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื้อสัตย์ในการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตรดังนี้
1.1.1  ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์ สุจริต
1.1.2  มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 
1.1.3  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถ แก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและรวมทั้ง            ศักศรีขอ ความเป็นมนุษย์
1.1.5  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1   บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวกับเครื่องมือและการวัดทางไฟฟ้าและการประยุกต์ใช้งาน
1.2.2   อภิปรายกลุ่ม
1.2.3    กำหนดให้นักศึกษาได้ออกแบบเครื่องมือวัด และสร้างเครื่องมือวัด โดยให้ดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดตามความเหมาะสมและความสามารถของ นักศึกษา
1.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ และทฤษฏี
1.3.2  ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
นักศึกษาเมื่อสำเร็จจากกระบวนการเรียนการสอนในรายวิชา การสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายสามารถรู้และเข้าใจหลักการการสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย สถาปัตยกรรมแบบเป็นลำดับขั้นของโครงข่าย โปรโตคอลและการเชื่อมต่อจุดต่อจุด แบบจำลองความล่าช้าในโครงข่ายการสื่อสาร โปรโตคอลชั้นสื่อสารย่อยควบคุมการใช้สื่อการทำงานในชั้นเชื่อมต่อข้อมูล การควบคุมการไหลของข้อมูล การควบคุมความผิดพลาดโครงข่ายท้องถิ่น โครงข่ายสวิตช์ชิ่ง การจัดหาเส้นทางเดินให้กับข้อมูลในโครงข่าย ความปลอดภัยของข้อมูล การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ สถาปัตยกรรมและระบบของโครงข่าย มาตรฐานต่างๆ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ออกแบบทดสอบเครื่องมือวัดการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้อง นำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ และทฤษฏี
2.3.2  ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
 
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบมีการวิเคราะห์ ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา การเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3  วิเคราะห์กรณีศึกษา
3.2.4  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
 3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์หลักการของการสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย
 3.3.2  วัดผลจากการประเมินโครงการการน าเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1  พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2  พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย ครบถ้วน
          ตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนธุรกิจ หรืออ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
      5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
           5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสาร ทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียนโดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน
           5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
           5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
           5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
      5.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
      5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
           5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
           5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1. สอนโดยใช้ความรู้พื้นฐานทางทฤษฎีให้ นักศึกษาได้ทดลองทำงานบางเรื่อง
1) การมอบหมายงานพิเศษ จากการเรียนในภาคทฤษฎีเสร็จแล้ว
1. ผลงานที่ทำเสร็จ
2.การนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุ6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE202 การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบย่อย ตามเนื้อหาที่เรียนมา 4 สัปดาห์ 4 10%
2 สอบกลางภาค สอบกลางภาค 8 25%
3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 หลังจากสอบกลางภาค 12 10%
4 สอบปลายภาค สอบความรู้ที่เรียนมาทั้งหมด 17 25%
5 งานพิเศษ นักศึกษา สามารถส่งงานได้ครบถ้วน ตามงานที่มอบหมายให้ทำตั้งแต่เปิดภาคเรียน 10-12 30%
ผศ.ดร. ชัชชัย คุณบัว,  สถาปัตยกรรมการสื่อสาร (Internet of Things). กรุงเทพ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562.
จากเวปไซด์
ค้นคว้าเพิ่มเติมจากห้องสมุดมหาวิทยาลัย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ