มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร

Livestock Farm Standards and Food Safety

1.รู้มาตรฐานฟาร์มสัตว์และระบบผลิตสัตว์ปลอดภัย
2.รู้มาตรฐานสินค้าระดับสากล
3.รู้การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม
4.รู้มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร
5.รู้มาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์
เพื่อให้รายวิชามีความสมบูรณ์และทันกับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป
ศึกษาเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ล่ะชนิด การจัดการความปลอดภัทางชีวภาพมนงานฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหารและมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์
ชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง          1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ให้นักศึกษาตระหนัก และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเอง และผลงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย มีวินัยต่อการเรียน   ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด    เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่มและนอกกลุ่ม
-ใช้การสอนแบบ Active Learning เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรม นักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
         - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา  ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ 
          - เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ล่ะชนิด การจัดการความปลอดภัทางชีวภาพมนงานฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหารและมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์ที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการของระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ล่ะชนิด การจัดการความปลอดภัทางชีวภาพมนงานฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหารและมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์อย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในสถานการณ์ที่สาขาวิชาสัตวศาสตร์และคณะ   จัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม  การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน  การตรงต่อเวลา และการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น  การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์  โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่ม
รู้และเข้าใจความหมายเพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ล่ะชนิด การจัดการความปลอดภัทางชีวภาพมนงานฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหารและมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ  Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้ง การสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ล่ะชนิด การจัดการความปลอดภัทางชีวภาพมนงานฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหารและมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์ เป็นต้น ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์ และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อ หรือบทเรียน
ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน และการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบอย่างเป็นทางการ 2 ครั้ง (สอบกลางภาค และสอบปลายภาค)
      ทำรายงานรายบุคคล และหรือรายงานกลุ่ม เพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน     
      การทำรายงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับระบบการผลิตสัตว์ที่ปลอดภัย หลักการผลิตทางการเกษตรที่ดี (GAP) มาตรฐานฟาร์มสัตว์แต่ล่ะชนิด การจัดการความปลอดภัทางชีวภาพมนงานฟาร์ม หลักการของ GMP และ HACCP มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหารและมาตรฐานสินค้าเกษตรที่ได้จากปศุสัตว์ และนำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาที่ทราบในชั้นเรียน หรืองานที่มอบหมายให้ค้นหาคำตอบ เพื่อให้ได้แนวทางในการแก้ปัญหานั้นๆ 
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
      ประเมินผลจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน  การสอบย่อย (Quiz)  การสอบกลางภาคและสอบปลายภาค  การนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและแบบกลุ่ม
เน้นการทำงานเป็นทีม โดยมีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะต้องช่วยเหลือแบ่งงานย่อยโดยมอบหมายให้ช่วยกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อใช้เขียนรายงาน และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาในชั้นเรียน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และประเมินผลงานจากรายงานของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
(1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
           -  การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์  เช่น แผ่น CD ที่บรรจุหน่วยเรียน
          -  การนำเสนอข้อมูลของงานที่มอบหมายให้เข้าใจง่าย ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยสามารถใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ในการทำงาน
            -  การใช้ Power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่มรวมทั้งการนำเสนอโครงการที่เสร็จสิ้น
           - การคำนวณในหน่วยเรียน
การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลรวมทั้งการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การนำเสนอโดยใช้แผ่นใส เอกสารประกอบการสอน ตำรา PowerPoint ประกอบการสอนในชั้นเรียน  การเลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ หลักการคำนวณในหน่วยเรียน
ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาที่ทราบในชั้นเรียน หรืองานที่มอบหมายให้ค้นหาคำตอบ เพื่อให้ได้แนวทางในการแก้ปัญหานั้นๆ
เน้นการทำงานเป็นทีม โดยมีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะต้องช่วยเหลือแบ่งงานย่อยโดยมอบหมายให้ช่วยกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อใช้เขียนรายงาน และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาในชั้นเรียน
ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะพิสัย ทางปัญญา คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา การบรรยาย การมอบหมายงาน การมอบหมายงาน การมอบหมายงาน
1 BSCAG207 มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์และความปลอดภัยทางอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรับผิดชอบ คะแนนเข้าเรียนและการแต่งกาย 1-17 10 เปอร์เซนต์
2 เข้าใจหลักวิชาการและเนื้อหา การสอบปลายกลางภาค 9 35 เปอร์เซนต์
3 เข้าใจหลักวิชาการและความรู้ การสอบปลายภาค 17 35 เปอร์เซนต์
4 ความรับผิดชอบและความเข้าใจในเนื้อหา การทำรายงาน 1-17 20 เปอร์เซนต์
1.กิจจา อุไรรงค์. 2535 แนวทางการวินิจฉัยรักษาและควบคุมโรคสุกร. ภาควิชาศัลยาศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม. 348 หน้า
2. กิจจา อุไรรงค์, ปรียพันธ์ อุดมประเสริฐและวรวิทย์ วัชชวัลดุ. 2536 . การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม 223 หน้า
3. กิจจา อุไรรงค์ และคณะ. 2537. การควบคุมป้องกันโรคสุกรที่สำคัญในประเทศไทย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม 373 หน้า
          4. เกรียงศักดิ์ พูนสุข. 2531. คู่มือโรคไก่สำหรับผู้เลี้ยง. ม.ป.ท. 67 หน้า
          5. จันทนา กุญชร ณ อยุธยา. 2529. โรคและการรักษาสัตว์ปีก. อนงค์การพิมพ์. กรุงเทพฯ. 190 หน้า.
6.  ชวนิศนดากร  วรวรรณ. ม.ร.ว. 2528. หลักการเลี้ยงสัตว์ทั่วไป. สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพ. 350 หน้า.
7. เชิดชัย รัตนเศรษฐกิจ. 2529 โรคสัตว์ปีก. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 299 หน้า.
8. เชื้อ ว่องส่งสาร. 2518. โรคระบาดและโรคติดเชื้อของสัตว์. โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรมพระนคร. 360 หน้า.
9. เชื้อ ว่องส่งสาร, สมบูรณ์ สุธีรัตน์. 2526. ประมวลวิชาการสัตวแพทย์. โรงพิมพ์บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ.451 หน้า.
10. ดำรง ปัญญาประทีป. 2528. การสุขาภิบาลและการควบคุมโรคสัตว์. คณะวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาเขตเกษตรพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา. 263 หน้า.
11. ถวัลย์ วรรณกุล, อัมพัน ยงพิศาลภพ. 2529. มาตรการควบคุมและป้องกันโรคสุกร. โรงพิมพ์มิตรสยาม, กรุงเทพฯ. 291 หน้า.
12. ทิม พรรณศิริ. 2516. คู่มือโรคไก่ประจำฟาร์ม. บัณฑิตการพิมพ์. กรุงเทพฯ. 250 หน้า.
 
13. ทิม พรรณศิริ. 2517. คู่มือโรคสุกรของเมืองไทย. บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 97 หน้า.
14. ธงชัย เฉลิมชัยกิจ. 2527. โรคสัตว์ที่เกิดจากสารพิษ. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์. 108 หน้า.
15. ธีระชัย วิสิทธิพานิช. 2528. หลักการผลิตสัตว์ทั่วไป. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 279 หน้า.
16. นันทิยา แอคะรัจน์. 2533. คู่มือปฏิบัติการโรคและการสุขาภิบาลสัตว์. โอเดียนสโตร์  กรุงเทพฯ. 118 หน้า.
          17. ประสบ บูรณมานัส. 2526. สุกรและการรักษาโรค. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 194 หน้า.
          18.  ประสบ บูรณมานัส. 2527. กระบือและการรักษา. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 284 หน้า
          19. ประสบ บูรณมานัส. 2527 . โรคและการรักษา. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 195 หน้า.
          20. ประสบ บูรณมานัส. 2528. เภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 438 หน้า.
21. ประสบ บูรณมานัส. ม.ป.ป. สิ่งที่เป็นพิษแก่สัตว์. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 98 หน้า.
22. ปรารถนา พฤกษะศรี และคณะ. 2530. กฏหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 177 หน้า.
23. มงคล ทูปิยะ, ดุสิต ติณกุลกำจร และกรีฑา ขันติ. ม.ป.ป. โรคไก่เป็ดที่สำคัญการป้องกันรักษา, บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อินเด็ก จำกัด, กรุงเทพฯ. 115 หน้า.
24. มาลินี ลิ้มโภคา. 2525. การใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์. ภาคเภสัชวิทยา คณะสัตวแพทย์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 442 หน้า.
25. วีรพล จันทร์สวรรค์. 2526. พยาธิใบไม้และตัวตืดของสัตว์เลี้ยง. หมวดวิชาปาราสิตวิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 272 หน้า.
26.  สัญชัย ลักษณโกเศศ. 2523. อายุศาสตร์โรคสัตว์ใหญ่ โรคผิวหนัง. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 794 หน้า.
 
27. สายัณห์ ทัดศรี. 2522. หลักการทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,กรุงเทพฯ. 445 หน้า.
          28. สุชีพ รัตนสาร. 2522. หลักการผลิตสุกร. เซ็นทรัลเอ็กเพรสศึกษา,กรุงเทพฯ. 442 หน้า.
29. สุพจน์ เอนกวานิช. 2526. โรคระบาดปศุสัตว์ที่สำคัญในประเทศไทย. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 124 หน้า.
30. สุพล เลื่องยศลือชากุล. 2530. โรคของสุกร เล่ม 1. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 258 หน้า.
31. สุพล เลื่องยศลือชากุล. 2530. โรคของสุกร เล่ม 2. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 258 หน้า.
32. สุพล เลื่องยศลือชากุล. และคณะ.  โรคและการป้องกันโรคสุกร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 145 หน้า.
33. สุรพล ชลดำรงค์กุล. 2530 โรคสัตว์เศรษฐกิจ. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 231 หน้า.
34. สุรพล พหลภาคย์. 2540. คู่มือการตรวจรักษาและป้องกันโรคสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 169 หน้า.
          35. สุวิทย์ เทียรทอง. 2527. หลักการเลี้ยงสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 151 หน้า.
          36. สุวิทย์ เทียรทอง. 2530. หลักการเลี้ยงสัตว์ . โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 172 หน้า.
37. โสมทัต วงค์สว่าง. 2538. วิทยาภูมิคุ้มกันทางสัตวแพทย์. ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 114 หน้า.
          38. อุทิศ มุสิโก. 2528. คู่มือสัตวแพทย์ เล่ม 1. กองควบคุมโรคระบาด กรมปศุสัตว์. 418 หน้า.
หนังสือ ตามข้อ 6.1 ตำราที่กำหนด
เวปไซด์กรมปศุสัตว์  E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
      ให้นักศึกษาทุกคนทำการประเมินการสอนของอาจารย์ผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย และเสนอแนะเพื่อ  การปรับปรุงรายวิชา
จากการเปรียบเทียบผลการทดสอบตามบทเรียน  ก่อนและหลังจากอ่านบทเรียนครบทุกส่วนแล้ว
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนกลยุทธ์การสอนทุกภาคการศึกษา  มีการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนใหม่ๆ ทุกปี  อาจารย์ประชุมปรึกษาปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
     อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนภาคทฤษฎี  เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอน และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป