วัชพืชและการควบคุม

Weeds and Their Controls

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ การจำแนกชนิดชีววิทยาและนิเวศวิทยาของ วัชพืชหลัก  วิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช  ประเภทและสรีรวิทยาการทำลายของสารเคมี กำจัดวัชพืชและความปลอดภัยในการใช้ 
          The study and practice of importance of weeds, biological and ecological classification of major weeds, weeds prevention and control, types and physiological damage of herbicides and herbicides application and  safety
          1. รู้ความสำคัญและชนิดของวัชพืช ตลอดจนหลักและวิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช
          2. รู้จักชนิดของสารเคมีกำจัดวัชพืช และการทำลาย ตลอดจนทดลองใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกพืชต่าง ๆ ได้
          3. รู้ประวัติการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช และการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชร่วมกับสารเคมีอื่น ๆ
          4. นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสภาพไร่ สวน ความเสียหายที่เกิดจากวัชพืช เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ การเก็บตัวอย่างวัชพืช และความปลอดภัยในการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช
          5. มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาค้นคว้าและทดลองใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชอย่างมีประสิทธิภาพ
มีการปรับปรุงรายเนื้อหาเพิ่มเติมให้ทันสมัย โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการวิเคราะห์อันเป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำเอาเทคโนโลยีไปใช้  โดยมีการนำเอาผลงานวิจัยใหม่ๆ มาเพิ่มเติมในเนื้อหาของรายวิชาให้ทันสมัยสอดคล้องกับ ปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ การจำแนกชนิดชีววิทยาและนิเวศวิทยาของ วัชพืชหลัก  วิธีการป้องกันกำจัดวัชพืช  ประเภทและสรีรวิทยาการทำลายของสารเคมี กำจัดวัชพืชและความปลอดภัยในการใช้ 
          The study and practice of importance of weeds, biological and ecological classification of major weeds, weeds prevention and control, types and physiological damage of herbicides and herbicides application and  safety
    1 -2  ชั่วโมง/สัปดาห์โดยจะแจ้งให้ทราบในชั่วโมงแรกของการสอน สำหรับเวลาที่นักศึกษาสามารถพบได้ คือ   วันพุธ เวลา 15.00  - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์  สาขาพืชศาสตร์     โทร. 0834121508
       facebook pornwipa sanawong โดยจัดตั้งกลุ่ม  อาจารย์จะตอบเมื่อมีเวลาว่าง
š (1) มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติ ในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
 š (2) มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
   กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้า ชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความ รับผิดชอบ โดยในการท างานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความ ซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุก คนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ (1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
(2) ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตร
 (3) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 (4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 (5) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ เพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(6) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
 
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้า ชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความ รับผิดชอบ โดยในการท างานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความ ซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุก คนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ
(1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
(2) ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตร
 (3) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 (4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 (5) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ เพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(6) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
˜(1) มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ  ที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการ ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
š (2) มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
เรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมี การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ โดย
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) และให้มีการอภิปรายกลุ่ม
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
3. กำหนดให้หาความรู้เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ตและทำรายงานส่ง  ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ
 (1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำและส่งรายงาน
 (4) ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
(5) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม
 
 
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
เรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมี การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ โดย
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) และให้มีการอภิปรายกลุ่ม
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
3. กำหนดให้หาความรู้เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ตและทำรายงานส่ง
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ
 (1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำและส่งรายงาน
 (4) ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
(5) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม
š (1) สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
˜ (2) สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ (3) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถ นำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
 
 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ (1) บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหา ข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลาย
(2) การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มา หรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
(3) ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า 
โดย การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น (1) ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
 (2) การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า 
(3) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
โดยการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
(1) บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหา ข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลาย
(2) การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มา หรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
(3) ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า 
โดย การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น (1) ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
 (2) การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า 
(3) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
โดยการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
š(1) ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่ เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม ˜  (2) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม  ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือ ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้      
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (6) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติ เฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
โดย ให้ทำงานมอบหมายเป็นกลุ่ม
และ ให้มีการนำเสนอข้อมูลของกลุ่มแก่เพื่อนๆ ในชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น เรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของ ข้อมูล
 
 
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือ ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้      
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (6) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติ เฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
โดย ให้ทำงานมอบหมายเป็นกลุ่ม
และ ให้มีการนำเสนอข้อมูลของกลุ่มแก่เพื่อนๆ ในชั้นเรียน
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น เรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของ ข้อมูล
š (1) มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ใน การอ่าน พูด ฟัง และเขียน
˜ (2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ    จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน  ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง สถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่ เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
โดยการแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลการมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและนำเสนอผลงาน (1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
 (2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย (3) การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
 โดย ประเมินจากทักษะการเขียน การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ จากการอ่านและการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน  ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง สถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่ เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
โดยการแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลการมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและนำเสนอผลงาน
(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
 (2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย (3) การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
 โดย ประเมินจากทักษะการเขียน การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ จากการอ่านและการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันท์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีคุณธรรมและจริยธรรม มีจรรยาบรรณ มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ มีความรอบรู้ สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ ภาวะผู้นำ มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ มีทักษะการสื่อสาร ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 BSCAG109 วัชพืชและการควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค ข้อสอบ 4 8 12 16 10% 20% 10% 20%
2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
กรมประมง. 2538. พรรณไม้น้ำในประเทศไทย.  โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 154 น.
               
กรมวิชาการเกษตร. 2531. การควบคุมวัชพืช. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 66 น.
             
กอบแก้ว   ตรงคงสิน. 2535. พืชอาหารสัตว์เขตร้อน. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ.  259 น.   
           
เกียรติเกษตร  กาญจนพิสุทธิ์, มโนธรรม  สัจจ์ถาวร, อดุลย์  พงษ์สุวรรณ, บรรณ  บูรณะ และ ลิขิต  เอียดแก้ว. 2531.
            ปาล์มน้ำมัน. โรงพิมพ์มิตรสยาม. 64 น.
 
เกลียวพันธ์  สุวรรณรักษ์. 2527. การควบคุมวัชพืชในสับปะรด. เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 231-236.
 
เกลียวพันธ์  สุวรรณรักษ์. วัชพืช : การป้องกันกำจัด. โครงการตำราชาวบ้าน, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 126 น.
          
เกลียวพันธ์  สุวรรณรักษ์ ,เสรี  ทรงศักดิ์ และสันติ  พรหมคำ. 2527. การควบคุมวัชพืชในไร่อ้อย.
            เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 223-230.
 
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2527 ก. การจำแนกสารกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ,วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 61-72.
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2527 ข. กลไกการทำลายโดยสารกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ,
           วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 73-122.
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม.  2527 ค. ความปลอดภัยในการใช้สารกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ,
           วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 281-286.
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2531 ก. สารกำจัดวัชพืชกับผลทางสรีรวิทยาของพืช เล่ม 1 พื้นฐานการเลือกทำลาย.
           จงเจริญการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 386 น. 
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2531 ข. สารกำจัดวัชพืชกับผลทางสรีรวิทยาของพืช เล่ม 2 กลไกการทำลายพืช.
           จงเจริญการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 446 น.
 
สมชัย   เกาสมบัติ. 2531. ทฤษฎี : การใช้งานและการซ่อมบำรุงเครื่องจักรกลการเกษตร.
              สำนักพิมพ์ยูไนเต็ดท์บุ๊คส์. 323 น.
 
สุคนธา   อรุณภู่, วีรพงษ์  เกียรติสุนทรณ์ และยุวดี  ยิ่งวิวัฒนพงษ์. 2535. อิทธิพลของสภาพแวดล้อมบางประการที่มีต่อ
          การงอกของเมล็ดหญ้าขจรจบดอกเหลือง. ว.เกษตรศาสตร์สาขาวิทยาศาสตร์, 25(1): 33-38.
          
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. 2533. การใช้ผักตบชวาเป็นอาหารสัตว์. เกษตรอุตสาหกรรม, 6(63): 48-54.
          
เสริมศิริ  คงแสงดาว และ อัมพร  สุวรรณเมฆ. 2527. การควบคุมไมยราพยักษ์.
           เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 265-280.
 
สุชาดา  ศรีเพ็ญ. 2527 ก. การจำแนกวัชพืช. เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 11-18.
 
สุชาดา  ศรีเพ็ญ. 2527 ข. นิเวศน์วิทยา และการขยายแพร่กระจายของวัชพืช. เอกสารวิชาการ,
           วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 19-22.    
  
สุชาดา  ศรีเพ็ญ.  2530. พรรณไม้น้ำ. ภาควิชาพฤกษศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัย
           เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 233 น.
 
อัญเชิญ  คงแสงดาว, กิติมา  มันทรานนท์ และเสริมศิริ  แดงยืนยง. 2520. ชีววิทยาของแห้วหมู.
           วิทยาสารของชมรมวัชพืชแห่งประเทศไทย. 2(1): 1-10.
 
อัมพร  สุวรรณเมฆ. 2527 ก. สภาพสารเคมี การหาปริมาณน้ำต่อไร่และการคำนวณ.
              เอกสารวิชาการ,  วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 177-186.
 
อัมพร  สุวรรณเมฆ. 2527 ข. การควบคุมวัชพืชในพืชไร่. เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 205-216.
 
อัมพร   สุวรรณเมฆ และโสภณ   ปิยะศิรินนท์ . 2520. การควบคุมแห้วหมู. วิทยาสาร
           ของชมรมวัชพืชแห่งประเทศไทย. 2(1): 11-24.    
 
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
เกลียวพันธ์  สุวรรณรักษ์,เสริมศิริ  คงแสงดาว และเสรี  ทรงศักดิ์ . 2527 ก. การควบคุมวัชพืชในสวนผัก. 
            เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 237-242.
 
เกลียวพันธ์  สุวรรณรักษ์,เสริมศิริ  คงแสงดาว และเสรี  ทรงศักดิ์   . 2527 ข. การควบคุมวัชพืชในสวนผลไม้.
            เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 217-222.
 
จารึก  บุญศรีรัตน์, อารักษ์  จันทุมา และสมพงษ์  สุขมาก. 2527. การใช้สารเคมีควบคุมวัชพืชในสับปะรด.
            เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 249-264.
           
ชมรมนิสิตวิทยาการวัชพืชมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2535. แนะนำสารควบคุมวัชพืชใน
               ประเทศไทย. ภาควิชาพืชไร่นา, คณะเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 84 น.
 
ณพพร  ดำรงศิริ. 2530. พฤกษอนุกรมวิธาน. ภาควิชาชีววิทยา, คณะวิทยาศาสตร์,
            มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ. 770 น.
 
เต็ม   สมิตินันทน์. 2523. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (ชื่อพฤกษศาสตร์-ชื่อพื้นเมือง).
             ฟันนี่พับบลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 379 น.
 
ทวี    แสงทอง. 2532. การควบคุมวัชพืชในถั่วเหลืองฤดูฝน. ข่าวพฤกษศาสตร์ และวัชพืช. 2(3): 7-9 . 
              
ธวัชชัย  รัตน์ชเลศ และ เจมส์ เอฟ แมกซ์เวล. 2535. รายชื่อวัชพืชที่มีรายงานพบในประเทศไทย.
             ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร, คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  เชียงใหม่. 138 น.
           
บรรพต  ณ ป้อมเพชร. 2525. การควบคุมศัตรูพืชและวัชพืชโดยชีววิธี. เอกสารพิเศษฉบับที่ 5,
            ศูนย์วิจัยศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 238 น.
 
บุญรัตน์  นันทะ. 2527. เทคนิคการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
             สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 151-156.
 
ประดิษฐ์ พีระมาน. 2527. ประวัติความเป็นมาของสารกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ,
            วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 39-50.
 
ประทีป  กระแสสินธุ์. 2527. การเลือกทำลายของสารกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ,  
              วิทยาการวัชพืช,  สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 123-144.
 
ประสาน  วงศาโรจน์. 2527. วัชพืชในนาข้าวและการควบคุม.เอกสารวิชาการ,วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 187-204.
 
พรชัย   เหลืองอาภาพงศ์. 2519.หญ้าขจรจบเรื่องที่ยังไม่จบ.วิทยาสารของชมรมวัชพืชแห่งประเทศไทย, 1(1): 19-26. 
              
พรชัย   เหลืองอาภาพงศ์. 2531. สารกำจัดวัชพืช. โรงพิมพ์เชียงใหม่คอมพิวกราฟฟิค,เชียงใหม่. 214 น.
           
พัชรินทร์  วณิชย์อนันตกุล. 2527. การจัดระบบควบคุมวัชพืช.   เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 23-32.
 
พันทิพา   อินทรวิชัย. 2535. เครื่องทุ่นแรงฟาร์มภาค 2 . ยูนิตี้ พับบลิเคชัน, กรุงเทพฯ. 137 น.
 
มนตรี รุมาคม และ J.A. Sutherland. 1978. คู่มือเครื่องพ่นยาประเภทใช้แรงคนแบบแรงดันน้ำ.
             เอกสารวิชาการหมายเลข 3 , กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร. 42 น.
 
มานพ  ศิริวรกุล. 2527. การควบคุมวัชพืชน้ำ.  เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 243-248.
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2523. เทคนิคการวิจัยและควบคุมวัชพืช. เอกสารประกอบการสอน,
          ภาควิชาพืชไร่นา, คณะเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 137 น.
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2527 ก. การจำแนกสารกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ,วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 61-72.
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2527 ข. กลไกการทำลายโดยสารกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ,
           วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 73-122.
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม.  2527 ค. ความปลอดภัยในการใช้สารกำจัดวัชพืช. เอกสารวิชาการ,
           วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 281-286.
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2531 ก. สารกำจัดวัชพืชกับผลทางสรีรวิทยาของพืช เล่ม 1 พื้นฐานการเลือกทำลาย.
           จงเจริญการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 386 น. 
 
รังสิต   สุวรรณเขตนิคม. 2531 ข. สารกำจัดวัชพืชกับผลทางสรีรวิทยาของพืช เล่ม 2 กลไกการทำลายพืช.
           จงเจริญการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 446 น.
 
สมชัย   เกาสมบัติ. 2531. ทฤษฎี : การใช้งานและการซ่อมบำรุงเครื่องจักรกลการเกษตร.
              สำนักพิมพ์ยูไนเต็ดท์บุ๊คส์. 323 น.
 
สุคนธา   อรุณภู่, วีรพงษ์  เกียรติสุนทรณ์ และยุวดี  ยิ่งวิวัฒนพงษ์. 2535. อิทธิพลของสภาพแวดล้อมบางประการที่มีต่อ
          การงอกของเมล็ดหญ้าขจรจบดอกเหลือง. ว.เกษตรศาสตร์สาขาวิทยาศาสตร์, 25(1): 33-38.
          
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. 2533. การใช้ผักตบชวาเป็นอาหารสัตว์. เกษตรอุตสาหกรรม, 6(63): 48-54.
          
เสริมศิริ  คงแสงดาว และ อัมพร  สุวรรณเมฆ. 2527. การควบคุมไมยราพยักษ์.
           เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 265-280.
 
สุชาดา  ศรีเพ็ญ. 2527 ก. การจำแนกวัชพืช. เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 11-18.
 
สุชาดา  ศรีเพ็ญ. 2527 ข. นิเวศน์วิทยา และการขยายแพร่กระจายของวัชพืช. เอกสารวิชาการ,
           วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 19-22.    
  
สุชาดา  ศรีเพ็ญ.  2530. พรรณไม้น้ำ. ภาควิชาพฤกษศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัย
           เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 233 น.
 
อัญเชิญ  คงแสงดาว, กิติมา  มันทรานนท์ และเสริมศิริ  แดงยืนยง. 2520. ชีววิทยาของแห้วหมู.
           วิทยาสารของชมรมวัชพืชแห่งประเทศไทย. 2(1): 1-10.
 
อัมพร  สุวรรณเมฆ. 2527 ก. สภาพสารเคมี การหาปริมาณน้ำต่อไร่และการคำนวณ.
              เอกสารวิชาการ,  วิทยาการวัชพืช, สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 177-186.
 
อัมพร  สุวรรณเมฆ. 2527 ข. การควบคุมวัชพืชในพืชไร่. เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 205-216.
 
อัมพร   สุวรรณเมฆ และโสภณ   ปิยะศิรินนท์ . 2520. การควบคุมแห้วหมู. วิทยาสาร
           ของชมรมวัชพืชแห่งประเทศไทย. 2(1): 11-24.    
 
 ฤกษ์  ศยามานนท์. 2527. บทบาทของวัชพืชที่มีต่อการเกษตร. เอกสารวิชาการ, วิทยาการวัชพืช,
            สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย. 1-10.
 
Aldrich, R.L. 1984. Weed-Crop Ecology Principles in Weed Management.  Breton Publishers, 
              North Scituate, Massachusetts. 465 p.
 
 Anderson, W. P. 1983. Weed Science : Principles. West Publishing Company, New York. 655 p.
 
 Ashton, F.M., T.J. Monaco and Michael Barret. 1991. Weed Science:  Principles and
              Practices. A Wiley-interscience publication, United States of America. 466 p.
 
Audus, L.J. 1976. Herbicide : Physiology, Biochemistry, Ecology. Academic Press Inc. (London)
                Ltd. , London. 608 p.
 
 Baker, D.A. 1978. Transport Phenomena in Plants. Chapman and Hall Ltd., London. 80 p. 
 
 Behrendt, S. and M. Hanf. 1979. Grass Weed in World Agriculture, Ludwigshafen, Germany. 160 p.
              
 Black, C.C., T.M. Chen and R.H. Brown. 1969. Biochemical Basis for Plant Competition.
                Weed Sci. 17: 338-344.
 
Bukovac, M.J. 1976. Herbicide Entry into Plants, in Herbicide : Physiology, Biochemistry, Ecology,
              Vol. 1, 2nd Edition. Edited by L.J. Audus, Academic Press, New York. pp. 335-384.
 
Craft, A.S. 1961. The Chemistry and Mode of Action of Herbicides. Interscience Publishers, New York. 381 p.
             
Devine, D.D. , S.O. Duke  and  C. Fedtke. 1993. Physiology of Herbicide Action. PTR Pretice Hall
              Englewood Cliffs, New Jersey. 441 p.
 
Eglinton, G. and R.J. Hamilton. 1967. Leaf Epicuticular Wax. Science. 156:1322-1335.
 
Hafliger, E., U. Kuhn, L. Hamet, Christopher D.K. Cook, R. Faden  and  F. Speta. 1982. Monocot
              Weed 3. CIBA-GEIGY. 132 p.
 
Hai, T.C. 1986. Weed Control in Rubber and Oil Palm Plantations in  Malaysia. In: Weed Control
               in Tropical Crops. vol.2. Weed Science  Society of the Philippins, Laguna, Philippins. 201-211.
              
Harada, J., Y. Paisooksantivutana and S. Zungsontiporn. 1987. Weed in the Highlands of Northern
               Thailand. Moss  & Media Co., Ltd., Bangkok, Thailand. 126 p.
 
Hess, F.D. 1985. Herbicide Absorption and Translocation and Their Relationship to Plant
               Tolerances  and  Susceptibility, in Weed Physiology, Vol, 2. Edited by S.O. Duke.
               CRC Press, Boca Raton, Florida. pp. 191-214.
 
  2. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิง ที่สำคัญ
 
ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ และมีระบบการประเมินรายวิชาโดยให้ผู้เรียนประเมินและแสดงความเห็นผ่านการประเมินรายวิชาทางระบบอินเตอร์เน็ต
อาจารย์ผู้สอนดาเนินการ โดยการสังเกต การดูผลการปฏิบัติงาน การตรวจรายงาน และการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยพิจารณาจากความสนใจ ความเข้าใจ และผลการเรียนของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองเมื่อสิ้นภาคการศึกษาเสนอหัวหน้าสาขา
     สาขาวิชามีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาทาหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินการสอน ข้อสอบ และความเหมาะสมของการให้คะแนน
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และผลการประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการหลักสูตร
เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป