ออกแบบสถาปัตยกรรม 4

Architectural Design 4

เพืjอให้นักศึกษามีความเข้าใจและสามารถจัดทํากระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรมได้ เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการออกแบบสถาปัตยกรรมอาคารสาธารณะขนาดกลาง ที่ตอบสนองคนจํานวนมากขึ้น และมีประโยชน์ใช้สอยที่ซับซ้อนมากขึ้น ประเภทอาคารทางการศึกษา และอาคารนันทนาการ โดยคํานึงถึงระบบโครงสร้าง งานระบบอาคารและข้อกําหนดอาคารที่เกี่ยวข้อง  
เพื่อให้การเรียนการสอนมีความทันสมัย สอดคล้องกับวิธีการออกแบบสถาปัตยกรรมและเทคโนโลยี ในปัจจุบัน  
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบอาคารสาธารณะขนาดกลาง ประเภทอาคารทางการศึกษา อาคารนันทนาการ จัดทํากระบวนการออกแบบ โดยกําหนดองค์ประกอบโครงการ ขนาดพื้นที่ สํารวจและวิเคราะห์ที่ตั้ง กําหนดแนวความคิดและทําการออกแบบสถาปัตยกรรม และผังบริเวณที่เปdนมิตรกับสิ่งแวดล้อม คํานึงถึงระบบโครงสร้าง งานระบบอาคารและข้อกําหนดอาคารที่เกี่ยวข้อง มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่  
- อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนในชั่วโมงแรก - อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 4 ชั่วโมง/สัปดาห์  
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม  
ให้ความสําคัญและสร้างสํานึกด้านจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพสถาปัตยกรรม กําหนดกติกาการเข้าเรียนและการส่งงาน ให้ความสําคัญและสร้างความตระหนักในบทบาทสถาปนิกที่ควรจะมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้มารับบริการวิชาชีพสังคมและสิ่งแวดล้อม  
1.3.1 มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของเอกสารที่ได้ทําการศึกษาค้นคว้า ไม่คัดลอกผลงานการออกแบบของผู้อื่น 1.3.2 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงานตรงตามเวลาที่กําหนด ผลงานการออกแบบได้แสดงถึงความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้มารับบริการวิชาชีพ สังคมและสิ่งแวดล้อม  
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของวิชาที่ศึกษา (3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  
2.2.1 บรรยายเนื้อหาตามแผนการสอน และอภิปรายประเด็นต่างๆร่วมกัน ปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมเป็นรายบุคคล/รายกลุ่ม จัดทํากระบวนการออกแบบ  โดยกําหนดองค์ประกอบโครงการ ขนาดพื้นที่ สํารวจและวิเคราะห์ที่ตั้ง กําหนดแนวความคิด ทําการออกแบบสถาปUตยกรรม และนําเสนอผลงาน ทั้งนี้การศึกษา เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 2.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล เช่น กรณีศึกษาอาคารประเภทอาคารทางการศึกษา และอาคารนันทนาการ งานโครงสร้างอาคาร งานระบบอาคาร และข้อกําหนดอาคารที่เกี่ยวข้อง นําเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม รวมทั้งการศึกษาดูงานนอกสถานที่ เพื่อให้มีความรู้ทางวิชาการที่ทันต่อเทคโนโลยีในการออกแบบอาคารสมัยใหม่ 2.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาพัฒนากระบวนการออกแบบ โดยใช้ความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  
2.3.1 ประเมินจากการสอบทฤษฎีกลางภาค 2.3.2 ประเมินจากการนําเสนอผลงาน Pin up 2.3.3 ประเมินจากการนําเสนอผลงาน Project  
(1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ (2) มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ  
3.2.1 ให้ฝึกปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรม (Architectural Design Project) ที่ประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2.2 ให้ฝึกปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรม (Architectural Design Project) ที่นําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ  
3.3.1 ประเมินจากผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม 3.3.2 ประเมินจากผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม
(3) สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  
4.2.1 มอบหมายงานทํางานกลุ่มผ่านการออกแบบระยะสั้น/ หรือ การประกวดแบบ  
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมการทํางาน การนําเสนอผลงาน และผลสําเร็จของงานกลุ่ม  
(1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม (2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม  
5.2.1 ไม่จํากัดรูปแบบการนําเสนอผลงาน ให้นักศึกษาเลือกวิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศตามความเหมาะสม 5.2.2 มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการออกแบบสถาปUตยกรรม  
5.3.1 ประเมินจากวิธีการและเครื่องมือที่ใช้การนําเสนอผลงาน 5.3.2 ประเมินจากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม  
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42011304 ออกแบบสถาปัตยกรรม 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม การอ้างอิงที่มาของข้อมูล,ไม่คัดลอกงานผู้อื่น การเข้าชั้นเรียน ส่งงานตามกําหนด ความตระหนักต่อบทบาทวิชาชีพสถาปนิก 1-18 10%
2 ความรู้ สอบทฤษฎี Pin Up (Design Process, Concept & Schematic Design) 8-9 10% 30%
3 ทักษะทางปัญญา ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรม 18 30%
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ผลงานการออกแบบระยะสั้น/ประกวดแบบ (งานกลุ่ม) 2,11 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี การนําเสนอผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี 18 10%
วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, การจัดทํารายละเอียดโครงการการออกแบบงานสถาปัตยกรรม, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539. วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, พฤติกรรมมนุษย์กับสภาพแวดล้อม มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและวางแผน , โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526. ตรึงใจ บูรณะสมภพ, การออกแบบสถาปัตยกรรมเมืองร้อนในประเทศไทย, นําอักษรการพิมพ์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปิยลดา เทวกุล ทวีปรังสี พร. /2557 คํา ความคิดสถาปัตยกรรม.กรุงเทพมหานคร: ลายเส้นสันต์ สุวัจฉราพินันท์ บรรณาธิการ 2557. ว่าด้วยทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม:พื้นที่สาธารณะและพื้นที่ทางสังคม. สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เอื้อม อนันตศานต์, การออกแบบผังบริเวณ, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2539. G. Thompsom. 2008 Mesmerization: The Spell That Control Us: Why we are losing our mind to Gobal Culture. Thame & Hudson.M. Carmona,T.Health,T. Oc and S.Tiesdell. Public Places – Urban Space: The Dimensions of Urban Design. Oxford: Architectural Press,2003.  
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia , Google ,Thai Engineering  
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านการให้คําปรึกษานอกชั้นเรียน  
2.1 สังเกตการณ์การสอนของคณะผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  
3.1 ประชุมคณะผู้สอนเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน  
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิaตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ