การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 1

Professional Experience 1

1.  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาจริง
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการบูรณาการการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติการวางแผนการสอน
3.  รู้และเข้าใจวิธีการเลือกยุทธวิธีการสอนการเลือกใช้และผลิตวัสดุช่วยสอนตลอดจนเทคนิค
การแก้ไขปัญหาขณะทำการสอนและตรวจงาน
4.  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลและนำผลมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตลอดจน
การบันทึกและการรายงานผลการจัดการเรียนรู้
5. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมของความเป็นครูฝึกสอนกับผู้เรียนและปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของสถานฝึกสอน
6. เห็นความสำคัญของวิชาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู 1
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาจริง โดยนำเอากระบวนการที่ได้รับการฝึกปฏิบัติในขณะเป็นนักศึกษาไปใช้ในการปฏิบัติจริง ในรูปแบบของการบูรณาการการสอน ตลอดจนการเรียนรู้ทางด้านการปฏิบัติตนตามระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษา การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ไขปัญหาด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
 
ปฏิบัติการสอนเพื่อรับประสบการณ์วิชาชีพครูโดยฝึกทักษะและความสามารถในรูปแบบของการบูรณาการการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติการวางแผนการสอนการเลือกยุทธวิธีการสอนการเลือกใช้และผลิตวัสดุช่วยสอนตลอดจนเทคนิคการแก้ไขปัญหาขณะทำการสอนและตรวจงานของผู้เรียนการวัดและประเมินผลและนำผลมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตลอดจนการบันทึกและการรายงานผลการจัดการเรียนรู้การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมฝึกสอนและสถานฝึกสอนการปฏิบัติตนอย่างมีคุณธรรมจริยธรรมของความเป็นครูฝึกสอนกับผู้เรียนและปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของสถานฝึกสอนโดยอยู่ภายใต้การควบคุมและแนะนำจากอาจารย์นิเทศและอาจารย์พี่เลี้ยง
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพัก
 -   อาจารย์ประจำรายวิชาและอาจารย์นิเทศ  ออกนิเทศนักศึกษา ไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปีการศึกษา
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่างๆที่ศึกษาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมรวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
           1.1.1   มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
           1.1.2   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
           1.1.3    มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
            1.1.4    เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1   สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
             1.2.2   สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
             1.2.3   เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
             1.2.4   ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
             1.2.5   เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
             1.2.6   ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
                 1.2.7   ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
             1.3.2ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
             1.3.3ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
             1.3.4ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการบูรณาการความรู้จากการศึกษามาทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพการมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การจัดทำแผนการเรียนรู้ร่วมกับสถานศึกษา
2.1.1  จัดให้นักศึกษาออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามเกณฑ์ที่คุรุสภากำหนด
2.2.2  จัดอาจารย์ออกไปนิเทศการสอนของนักศึกษา
2.2.3  จัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน
 
2.3.1  ประเมินผลจากการนิเทศของอาจารย์นิเทศ
2.3.2  ประเมินผลจากอาจารย์พี่เลี้ยง นักศึกษา และผู้บริหารของสถานศึกษาที่ปฏิบัติการสอน
2.3.3  ประเมินผลจากการจัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน
2.3.2  ประเมินผลจากการจัดทำรายงานที่กำหนด
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.1   การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
           3.2.2  การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
 
3.3.1   ประเมินผลจากการปฏิบัติการสอน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
2.1.1 จัดให้นักศึกษาออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามเกณฑ์ที่คุรุสภากำหนด
2.2.2 จัดอาจารย์ออกไปนิเทศการสอนของนักศึกษา
2.2.3 จัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน
3.3.1   ประเมินผลจากการปฏิบัติการสอน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.4  สอบถามจากอาจารย์พี่เลี้ยง
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.1   การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
           3.2.2  การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   ประเมินผลจากการปฏิบัติการสอน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.4  สอบถามจากอาจารย์พี่เลี้ยง
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิดวิเคราะห์และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.2  การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   ประเมินผลจากการปฏิบัติการสอน
3.3.2   วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.4  สอบถามจากอาจารย์พี่เลี้ยง และการประเมินจากนักเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3, 1.4,2.1,3.1,3.2,4.1,4.2, 4.3,5.1,5.2,5.3,6.1,6.2 - การนิเทศการสอน - ประเมินผลจากอาจารย์พี่เลี้ยง นักศึกษา และ ผู้บริหารของสถานศึกษาที่ปฏิบัติการสอน ตลอดภาคการศึกษา นิเทศก์ 30% จากพี่เลี้ยง นักศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา 40%
2 2.1,3.1,3.2, 6.1,6.2 การจัดสัมมนาสรุปผลการปฏิบัติการสอน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 2.1, 6.1,6.2 การจัดทำรายงานที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 20%
1.  กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2536.
         2.  กิดานันท์ มลิทอง. ผศ. สื่อการสอนและฝึกอบรมจากสื่อพื้นฐานถึงสื่อดิจิตอล. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดอรุณการพิมพ์ , 2544.
         3.ยุทธพงษ์ไกยวรรณ. เทคนิคและวิธีการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีจำกัด, 2541.
4.  ไพโรจน์  ตีรณธนากุล. รศ. วิธีสอนวิชาทฤษฏี. กรุงเทพฯ :  บริษัทพิมพ์ดีจำกัด, 2542.
5.  สุชาติศิริสุขไพบูลย์. ผศ. เทคนิคและวิธีการสอนวิชาชีพ. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2527.
6.  สุรพันธ์  ตันศรีวงษ์. วิธีการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด, 2538.
         7.  วัลลภ จันทร์ตระกูล. ผศ. สื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2543.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสัมมนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1ปรับปรุงเทคนิคการนิเทศก์การสอน
5.2   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4