การออกแบบและผลิตผืนผ้า

Fabric Design and Production

มีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาผ้าทอจากโครงสร้างพื้นฐาน มีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาผ้าถักจากโครงสร้างพื้นฐาน มีทักษะในการวิเคราะห์โครงสร้างผ้า มีทักษะในกระบวนการผลิตผืนผ้า มีทักษะในการรักษาสิ่งแวดล้อมจากการผลิตผืนผ้า
วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชานี้เพื่อแก้ไขปัญหาจากการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาผ้าทอจากโครงสร้างพื้นฐาน การออกแบบและพัฒนาผ้าถักจากโครงสร้างพื้นฐาน การวิเคราะห์โครงสร้างผ้า กระบวนการผลิตผืนผ้าและมีทักษะในการรักษาสิ่งแวดล้อมจากการผลิตผืนผ้า
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาผ้าทอ ผ้าถัก จากโครงสร้างพื้นฐาน การวิเคราะห์โรงสร้างผ้า กระบวนการผลิตผืนผ้า การรักษาสิ่งแวดล้อมจากการผลิตผืนผ้า
Practice of designing and developing the woven and knit infrastructure. analysis of fabric structure, fabric manufacturing, environmental conservatlon from fabric manufacturing.
- อาจารย์ผู้สอนประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย1 ชั่วโมง/สัปดาห์
มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
เน้นให้นักศึกษามีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมจากการผลิตผืนผ้า ยกตัวอย่างถึงมลพิษที่เกิดจากการผลิตผืนผ้าและวิธีการจัดการมลพิษในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน ให้นักศึกษาหากรณีศึกษาเกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากการผลิตผืนผ้าและวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไขในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
สอบถามเกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากการผลิตผืนผ้าและวิธีการจัดการมลพิษในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน ประเมินผลการวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับมลพิษที่เกิดจากการผลิตผืนผ้า
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. เน้นให้นักศึกษามีศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการออกแบบและพัฒนา
2. มอบหมายงานในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
จากผลงานที่มอบหมาย
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
มอบหมายงานให้นักศึกษาใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการสร้างผลงานในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
จากผลงานที่มอบหมาย
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานเป็นงานรายเดี่ยวและงานกลุ่มในฝึกปฏิบัติในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
1. จากการสังเกต
2. จากผลงานที่มอบหมาย
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำการออกแบบลายผ้าให้สามารถสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้ในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
จากผลงานที่มอบหมายและการนำเสนอผลงาน
1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1. สาธิตวิธีการแกะลายผ้าในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
2. แนะนำวิธีการออกแบบและพัฒนาลายผ้าในระบบออนไลน์และในชั้นเรียน
จากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ105 การออกแบบและผลิตผืนผ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านทักษะพิสัย 1. จากงานที่มอบหมาย 2. สอบกลางภาค 3. สอบปลายภาค 1. งานที่มอบหมาย สัปดาห์ที่ 1-8 และสัปดาห์ที่ 11-16 2. สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 3. สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 1. งานที่มอบหมาย ร้อยละ 34 2. สอบกลางภาค ร้อยละ 10 3. สอบปลายภาค ร้อยละ 10 รวมเป็นร้อยละ 54
2 คุณธรรม จริยธรรม ความสนใจการเรียนสม่ำเสมอ, การเข้าชั้นเรียน, ความตั้งใจทำงาน สัปดาห์ที่ 1-8 และ สัปดาห์ที่ 10-16 ร้อยละ 5
3 ความรู้ พิจารณาจสกผลงานการออกแบบและพัฒนาลวดลายที่มีการนำศาสตร์ทางศิลปกรรมมาใช้ สัปดาห์ที่ 9 และสัปดาห์ที่ 17 ร้อยละ 10
4 ทักษะทางปัญญา จากผลงานของนักศึกษา สัปดาห์ที่ 1-8 และ 10-16 ร้อยละ 16
5 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ สังเกตุจากการปฎิบัติงานเป็นรายเดี่ยวและงานกลุ่ม สัปดาห์ที่ 1-8 และสัปดาห์ที่ 10-16 ร้อยละ 5
6 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จากผลงานการออกแบบและการนำเสนองาน สัปดาห์ที่ 4-8 ร้อยละ 10
1.1 มณฑา จันทร์เกตุเลี้ยด. 2541.วิทยาศาสตร์สิ่งทอเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : หอรัตนชัยการพิมพ์.
1.2 นวลแข ปาลิวนิช. 2542.ความรู้เรื่องผ้าและเส้นใย. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
1.3 ลิลี่ โกศัยยานนท์ และคณะ. คู่มือวิชาการสิ่งทอ. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ.
1.4 สนั่น บุญลาและพิชัย พงษ์วิรัตน์. เทคโนโลยีการผลิตสิ่งทอจากใยพืช เล่มที่ 5 เทคโนโลยีการผลิตผ้าทอ-ผ้าถัก. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ.
1.5 อัจฉราพร ไศละสูต. 2539.ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์วิชาการ.
1.6 อภิชาติ สนธิสมบัติ. 2545. กระบวนการทางเคมีสิ่งทอ. ปทุมธานี : คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
1.7 อุไรวรรณ ภารดี (ปิติมณียากุล). 2555. ร้อยเรียงผ้าถัก. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ด้านการออกแบบลวดลายทอและลวดลายถัก
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบลวดลายทอและลวดลายถัก
http://www.ttistextiledigest.com
http://www.thaitextile.org
การปะเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้

การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังนี้
1. ผลงานของนักศึกษา
2. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
3. การทดสอบผลการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
1. ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
2. หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
2. การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา