การออกแบบเสียง

Sound Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการทำงานด้านการออกแบบเสียงในงานมัลติมีเดีย ขั้นตอน การผลิต ฝึกทักษะในการออกแบบ ผลิตเสียง และดนตรี ฝึกทักษะ และเทคนิคการใช้ โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการออกแบบเสียงและดนตรี การสร้างสรรค์ผลงาน ออกแบบเสียงหรือดนตรีรวมทั้งการทำงานร่วมกัน และความรับผิดชอบ    
ทดลองปรับปรุงการสอนใหม่เป็นแบบการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education) ปรับปรุงแนวทางการสอนใหม่ ให้นักศึกษาสามารถสร้างสรรค์งานได้หลากหลายมากขึ้น ตามความถนัดของตน
เพื่อเนื้อหาให้เน้นที่การนำไปใช้กับงานสื่ออื่นๆที่เกี่ยวข้องให้มากขึ้น ให้นักศึกษาได้มีการฝึกฝนบ่อยๆขึ้น


 


 

 
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความเกี่ยวพันระหว่างดนตรีกับศิลปะ สุนทรียะทางดนตรี องค์ประกอบพื้นฐานของดนตรี รู้จักเครื่องดนตรี วงดนตรี คีตกวีของไทยและตะวันตก กระบวนการทำงานด้านออกแบบเสียงในงานออกแบบสื่อ ขั้นตอนการ ออกแบบและผลิตเสียงดนตรี การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการออกแบบเสียงและดนตรี การสร้างสรรค์ผลงานออกแบบเสียงและดนตรี 
2 ชั่วโมงโดยระบุ วัน เวลา ไว้ในตารางสอน แจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และติดประกาศไว้ที่บอร์ดประจำสาขาวิชา
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
- มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
- การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
          - การทำงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
          - การนำเสนอ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
          - การปฏิบัติงานกลุ่ม
- การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย
          - ประเมินจากผลงานปฏิบัติ
          - ประเมินจากพฤติกรรมการเรียน การทำงาน
- ประเมินจากการวิพากษ์ แสดงความคิดเห็น
- รอบรู้ในศาสตร์ทางงานออกแบบเสียง โปรแกรมที่เกี่ยวข้อง ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในการทำงานออกแบบเสียง และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับการทำงานด้านออกแบบเสียงหรือดนตรี
- มีความรู้ในทางด้านงานออกแบบเสียงที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญา และวัฒนธรรม
- มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านงานออกแบบเสียง        
- บรรยาย
          - สาธิต
          - ค้นคว้า
- การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
          - ประเมินจากการนำเสนอ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
          - ประเมินจากทดสอบย่อย
- สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการได้
- มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- มอบหมายงานบุคคล (งานในคาบเรียน)
          - มอบหมายงานกลุ่ม (ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน)
          - ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่างโครงงาน)
          - ประเมินการทำงาน (ประเมินกระบวนการ)
          - ประเมินจากการแสดง
- มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
- มอบหมายงานกลุ่ม (ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
          - นำเสนอข้อมูล
          - ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
          - ประเมินจากผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน)
          - ประเมินจากการสังเกตปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          - นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากการนำเสนอ (การพูด การตอบคำถาม ความพร้อมของทีม)
          - ประเมินจากสื่อที่ใช้ในการนำเสนอ
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
- มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- บรรยาย และสาธิต
- มอบหมายงานรายบุคคล
- มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน)
          - ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่างโครงงาน)
          - ประเมินการทำงาน (ประเมินกระบวนการ)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมี มนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACD132 การออกแบบเสียง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3 - การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย - ประเมินจากพฤติกรรมการเรียน การทำงาน - ประเมินจากการวิพากษ์ แสดงความคิดเห็น 1-16 10
2 2.1, 2.3, 2.4 - ประเมินจากทดสอบย่อย - การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 1-6, 10, 17 10
3 3.2, 3.3, 3.4, 6.1, 6.2 - ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน) 1-16 25
4 3.2, 3.3, 3.4, 4.1, 4.2, 4.3, 6.1, 6.2 - ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่างโครงงาน) - ประเมินการทำงาน (ประเมินกระบวนการ) - ประเมินจากการแสดง 1-16 40
5 5.1, 2.1, 2.3, 2.4 - ประเมินจากการนำเสนอ (การพูด การตอบคำถาม ความพร้อมของทีม) - ประเมินจากสื่อที่ใช้ในการนำเสนอ 16 15
GarageBand ’09 / Mary Plummer.
Logic Pro9 and Logic Express 9
Logic pro 9 advanced music production.
The guide to MIDI orchestration /by Paul Gilreath.
วิทย์ ขันธศิริ. 2550 ดุริยางคศิลป์ตะวันตก (เบื้องต้น), กรุงเทพมหานคร : บริษัท วี. พริ้นท์ (1991) จำกัด.
โยธิน ฤทธิพงศ์ชูสิทธิ์. 2549 The Audio Engineer’s handbook, กรุงเทพมหานคร : บริษัท วีลสแควร์ จำกัด.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบเสียง
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการออกแบบเสียงประกอบ
Garage Band.
https://www.apple.com/th/ios/garageband/
Logic Pro Audio.
https://www.apple.com/logic-pro/
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้
                   1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
                   1.2 การแสดงความคิดเห็น
                   1.3 การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ                  1.4 การประเมินตนเองของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
           2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
           2.2 ผลการประเมินตามข้อ 1
           2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
           2.4 อาจารย์ผู้สอนประเมินตัวเอง
ความพึงพอใจการสอน
ความเหมาะสมของการเตรียมการสอน
          ข้อควรปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป
3.1 บันทึกการสอนเพื่อเสนอการปรับปรุงแก้ไข
                             3.2 การประชุมคณาจารย์เพื่อปรับปรุงการสอน โดยใช้ข้อมูล ผลการประเมินของนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา การประเมินผลตนเอง บันทึกการสอน
4.1 ทวนสอบความถูกต้องของคะแนนอาจารย์ โดยประกาศคะแนนแต่ละส่วนให้นักศึกษาทวนสอบของตัวเอง เพื่อปรับปรุงแก้ไข
                   4.2 อาจารย์ทวนสอบการให้คะแนนกับพฤติกรรมของนักศึกษา
                   4.3 นักศึกษาประเมินตนเอง
                   4.4 ทวนสอบโดยกรรมการทวนสอบประจาหลักสูตร (สุ่มตรวจ)
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาในภาคการศึกษาต่อไป ในเรื่อง เนื้อหา ลำดับการสอน และวิธีประเมินผลการสอน