พื้นฐานการออกแบบ

Foundation of Design

1. รู้วิธีการนำหลักการพื้นฐานการออกแบบมาใช้ในการออกแบบ
2. เข้าใจวิธีการจัดวางองค์ประกอบสองมิติและสามมิติ
3. เข้าใจวิธีการออกแบบที่ว่างสำหรับพื้นที่ใช้สอยในลักษณะต่างๆ
4. มีทักษะในการออกแบบรูปร่างและรูปทรงที่สัมพันธ์กับประโยชน์ใช้สอยของผลิตภัณฑ์
5. เห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ มาทำการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เพื่อปรับปรุงให้รายวิชามีเนื้อหาที่ต่อยุคสมัยเพิ่มมากขึ้น
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ หลักการออกแบบเบื้องต้น การจัดองค์ประกอบทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ทั้งสองมิติและสามมิติ
ให้คำปรึกษานอกชั้นเรียนสัปดาห์ละ 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ทาง microsoft team:  Foundation of Design _63 ซึ่งได้แจ้งให้นักศึกษาทราบตั้งแต่เข้าเรียนในสัปดาห์แรก
- นักศึกษาต้องเป็นผู้มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่น ๆ และมีความซื่อสัตย์ สุจริต ต่อตนเองและผู้อื่น
 
- ฝึกให้นักศึกษามาเรียนและส่งงานในชั้นเรียนให้รับผิดชอบในส่วนงานของตนเองและตรงต่อเวลา
- ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้นสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่มีอคติในการทำงานโดยสามารถทำงานได้ในเวลาที่กำหนดให้
ประเมินพฤติกรรมการเรียนด้วยคะแนนจิตพิสัย 10%
ความรู้ที่ต้องได้รับนักศึกษาจะต้องมีความรู้ในการนำหลักการออกแบบมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้อง
วิธีการสอนสอนโดยการบรรยายประกอบสื่อการสอนประกอบตัวอย่างและกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะความเข้าใจและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
วิธีการประเมินผล ประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30% ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30% และจากการสอบ 30% 
 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ให้นำหลักการออกแบบมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้
วิธีการสอน สอนโดยการบรรยายประกอบตัวอย่าง ด้วยสื่อการสอนแล้วให้นักศึกษาปฏิบัติการ หาข้อมูลและฝึกปฏิบัติออกแบบพื้นฐาน และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะปฏิบัติ ส่งงานตามเวลาที่กำหนดใ
วิธีการประเมินผล จากงานที่ฝึกปฏิบัติในและนอกชั้นเรียน และจากการทดสอบในชั้นเรียน และการสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
- ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
- ความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม การแก้ปัญหาในการทำการออกแบบฯ
- ความตรงต่อเวลา
 
 
- บรรยายพร้อมแสดงตัวอย่างประกอบ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
- มอบหมายให้ปฏิบัติงาน
- ตรวจงานด้วยการให้ น.ศ. นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และใน micimicrosoft team
- สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค
- สอบทฤษฎีกลางภาคและปลายภาค
- การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้
- การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
- ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การส่งข้อมูลทาง microsoft team
- สอนโดยการบรรยาย ยกตัวอย่าง ให้นักศึกษาปฏิบัติการค้นคว้าข้อมูล และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานทั้งในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะปฏิบัติและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
- ประเมินจากงานที่ปฏิบัติ และรูปแบบการนำเสนอ
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
- มีทักษะในการหาแนวทาง ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
- มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- บรรยายพร้อมแสดงตัวอย่างประกอบ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
- มอบหมายให้ปฏิบัติงานตามโจทย์การประยุกต์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
งานที่ฝึกปฏิบัติในและนอกชั้นเรียน ทั้งในชั่งโมงเรียนและ project ท้ายเทอม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 4 1 2 1 2 1 2 3
1 BAAID103 พื้นฐานการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,1.1,2.1,2.2,6.2,6.1,6.3 นักศึกษาส่งงานปฏิบัติรายสัปดาห์ หลังบทเรียน 70%
2 4.2,4.1 การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน หลังบทเรียน 5%
3 3.3,3.4,5.1,5.2 สอบกลางภาค 8 10%
4 3.3,3.4,5.1,5.2 สอบปลายภาค 16 10%
5 1.1,1.2,6.2,6.1,6.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
สืบศิริ แซ่ลี้,พงษ์พิพัฒน์ สายทอง (2555) พื้นฐานการออกแบบ Basics In Design พิมพ์ที่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ธนภัทร รุ่งธนาภิรมย์  (2560) ทฤษฎีความงาม : The Theory of Beauty สำนักพิมพ์ EARN concept
ประเสริฐ พิชยะสุนทร (2555) ศิลปะและการออกแบบเบื้องต้น กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ : จุฬาลงกรณ์
นวลน้อย บุญวงษ์ หลักการออกแบบ กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ : จุฬาลงกรณ์
เลอสม สถาปิตานนท์ การออกแบบเบื้องต้น:INTRODUCTION TO กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ชีเอ็ด
ศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์ (2553) หลักการออกแบบศิลปะ Principles of Design สำนักพิมพ์ : ไวลาย 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน
4.1 การให้คะแนนจากผลงานสร้างสรรค์รายสัปดาห์
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงานวิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ