การสร้างสไตล์เพื่องานแฟชั่น

Fashion Styling

1. เพือให้นักศึกษามีทักษะการการออกแบบภาพลักษณ์ให้กับผู้สวมใส่เสื้อผ้า 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบเสื้อผ้าให้เป็นไปตามแนวคิดได้ 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์แนวโน้มแฟชั่นได้ 4. เพื่อให้นักศึกษามีทักษะด้านการศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถการออกแบบและสร้างสไตล์เพื่องานแฟชั่น
เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบภาพลักษณ์ให้กับผู้สวมใส่เสื้อผ้า หรืองานการออกแบบเสื้อผ้าตามแนวคิด และการออกแบบสไตล์เพื่องานแฟชั่น
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้าง การผสมผสานและการออกแบบภาพลักษณ์ให้กับผู้สวมใส่เสื้อผ้าหรือผลงานการออกแบบเสื้อผ้าให้เป็นไปตามแนวคิด การวิเคราะห์และศึกษาแนวโน้มแฟชั่นจากสื่อและธุรกิจแฟชั่นต่างๆ การสร้างภาพลักษณ์ที่แตกต่างทันสมัยตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย การศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค การวิเคราะห์ทัศนคติ แนวคิด บุคลิกภาพ การออกแบบและสร้างสไตล์เพื่องานแฟชั่น
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
จัดกิจกรรมส่งเสริมให้มีการแสดงออกในการยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 5. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน และร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมอบหมายงานโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม โดยให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้กรณีศึกษาและโครงงาน ให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ140 การสร้างสไตล์เพื่องานแฟชั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม ตลอดภาคเรียน 10
2 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 5. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ สัปดาห์ที่ 9 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 17 สอบปลายภาค และประเมินหัวข้ออื่นๆ ตลอดภาคเรียน 30
3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน ตลอดภาคเรียน 10
4 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคเรียน 10
5 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ ตลอดภาคเรียน 10
6 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติและผลงาน สัปดาห์ที่ 16 30
- Armour, G., Fashion, Style, and Image Consulting: Textbook Manual, CreateSpace Independent Publishing Platform, 2014
- Fashionary, Fashionpedia: The Visual Dictionary of Fashion Design, Fashionary International Limited, 2017
- Buckley, C. and McAssey, J., Basics Fashion Design 08: Styling, Bloomsbury Publishing, 2011
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้   2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน   2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา   2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้   3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้   4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร   4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้   5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4   5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์