โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม

Engineering Metallurgy

เข้าใจและเรียนรู้การใช้เครื่องมือทดสอบในงานโลหะวิทยา เข้าใจโครงสร้างจุลภาค คุณสมบัติเชิงกลและการเปลี่ยนรูป การเกิดผลึกใหม่ของโลหะ เข้าใจวิธีการขึ้นรูปของโลหะแลโลหะผสม อธิบายเฟสไดอะแกรมของโลหะและเฟสไดอะแกรมของเหล็ก-เหล็กคาร์ไบด์ เข้าใจหลักการการอบชุบด้วยความร้อนและวิธีการทดสอบความสามารถการอบชุบด้วยความร้อน เข้าใจลักษณะและคุณสมบัติเชิงกลของโลหะกลุ่มเหล็กและโลหะนอกกลุ่มเหล็ก

มีกิจนิสัยในการวิเคราะห์ สังเคราะห์และทดสอบคุณสมบัติทางโลหะวิทยา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษาทางด้านโลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ รวมถึงการทำการวิจัยเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นประโยชน์
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในงานทางโลหะวิทยา คุณสมบัติเชิงกลของโลหะและโลหะผสม โครงสร้างจุลภาคและมหภาคของโลหะ การเกิดผลึก การเปลี่ยนรูปของโลหะ เฟสไดอะแกรมของโลหะ และเฟสไดอะแกรมเหล็ก-คาร์บอน กรรมวิธีอบชุบด้วยความร้อน เทคโนโลยีโลหะผง การกัดกร่อนและการวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1   เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2   มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4  สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1  อาจารย์เป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษา
1.2.2   มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน
1.2.3   สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพ
ระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่นการเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น
 
1.3.1   ประเมินผลจากการเข้าเรียน
1.3.2   ประเมินผลการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและตรงเวลา
1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการตอบข้อซักถามและการยกตัวอย่างเปรียบเทียบใน ด้านการรักษากฎระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกันในสังคมองค์กรให้เห็นความมีคุณค่า มีเกียรติ รู้สึกภูมิใจในตนเองและสถาบัน
 
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมอุตสาหการ
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4  สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.5  สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1     บรรยายหลักการ ทฤษฎี ตามคำอธิบายรายวิชา อภิปรายระหว่างอาจารย์และนักศึกษา  
2.2.2     ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานวิศวกรรมการบำรุงรักษาเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
2.2.3     มอบหมายงานเป็นกลุ่ม
2.2.4     สรุปเนื้อหาบทเรียน
2.3.1   ตรวจแบบฝึกหัด ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบ
3.1.1  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2  สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3  สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4  มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 มอบหมายงาน
3.2.2 เชิญวิทยากรมาบรรยาย
3.3.1 พิจารณาจากผลงานที่มอบหมาย
3.3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
4.1.1  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.1.2  สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3  รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.6  มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1   มอบหมายงานให้ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม, รายบุคคล และมีการนำเสนองานแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
4.3.1   ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.2   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียนและการนำเสนอผลงาน
5.1.1  มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2  มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3  สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4  มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1   นำเสนอผลงานในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2   อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน  โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3   อธิบายวิธีการใช้เครื่องคำนวณในส่วนของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
5.3.1   ผลจากการประเมินการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.3.2     ผลจากการสังเกตพฤติกรรม ในการอภิปรายกลุ่มโดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
6.1.1  มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2  มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาและกำหนดระยะเวลาในการส่งงาน
6.2.2 การใช้เครื่องมืออุปกรณ์อย่างถูกวิธีและการบำรุงรักษา
6.3.1 นักศึกษาส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
6.3.2 มีการกำหนดคะแนนในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGIE110 โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 ตรวจสอบรายชื่อการเข้าชั้นเรียน ความสนใจในการเรียน ทุกสัปดาห์ ที่มีการเรียน ร้อยละ 10
2 3.3.2 สอบวัดความรู้กลางภาค ปลายภาค 8 และ 17 ร้อยละ 50
3 2.3.1,3.3.1 ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ทุกครั้งที่มอบหมาย ร้อยละ 40
วีระพันธ์ สิทธิพงศ์ รศ. โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร ภาค 1 โรงพิมพ์นิยมวิทยา , 2532 , 380 หน้า.
วีระพันธ์ สิทธิพงศ์ รศ. โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร ภาค 2 โรงพิมพ์นิยมวิทยา , 2533 , 328 หน้า.
ชาญวุฒิ ตั้งจิตวิทยา ดร. และ สาโรช ฐิติเกียรติพงศ์ วัสดุในงานวิศวกรรม (ฉบับปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม) พิมพ์ที่ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2521 , 312 หน้า.
มนัส สถิรจินดา รศ. เหล็กเหนียว พิมพ์ที่โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2527.
มนัส สถิรจินดา รศ. เหล็กหล่อ พิมพ์ที่โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , พิมพ์ครั้งที่ 4 , 2527 , 130 หน้า.
มนัส สถิรจินดา รศ. วิศวกรรมการอบชุบเหล็ก พิมพ์ที่โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , พิมพ์ครั้งที่ 1, 2531 , 297 หน้า.
Avner , Sidneey H. : Introduction to Phsical Metallurgy , second edition , Mcgraw Hill Book Company , New York , 1974 , 696 page.
Einstein , Nicholads W. : Engineering Physical Metallurgy Mixs Publishers. Moscow fitth pintiy , 1995 , 444 page.
Reed hill , Robert E. and Abbraschian : Physioal Metallurgy Principle third Edittion , PWS Publishing Company , Bostion , 1994 , 926 page
ไม่มี
ไม่มี
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ โดยให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายรายวิชาวัตถุประสงค์เนื้อหารายวิชาการประเมินผลการเรียน ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวลผล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน การพัฒนารายวิชาผ่าน Web board ของสาขาวิชา

การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ประเมินผลโดยคณะวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตาม PM-14

อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการสอนของตนเอง โดยดูจากพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น การวิจัยในและนอกชั้นเรียน จัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา ปรับปรุงรายละเอียดของเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยทุก ๆ 3 ปี
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 ตรวจสอบข้อสอบให้ตรงตามวัตถุประสงค์ วิเคราะห์ความยากง่ายของข้อสอบ รวมทั้งศึกษาดูงานในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เพื่อเพิ่มกลยุทธ์ให้อาจารย์ผู้สอน