โรคพืชและการควบคุม

Plant Diseases and Their Controls

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเกี่ยวกับความสำคัญและการพัฒนาการทางโรคพืชที่มีผลต่อการเกษตร เชื้อสาเหตุ การแพร่ระบาด การเข้าทำลายของโรค อาการของโรค การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค ระบบการป้องกันตนเองชองพืช และการควบคุมโรคพืชด้วยวิธีการต่างๆ  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ สามารถนาความรู้หลายสาขามาประยุกต์ในการดารงชีพได้ สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิตอาสาและสานึกสาธารณะ และมีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมให้ทันสมัยสอดคล้องกับหลักสูตรที่มีการปรับปรุงขึ้นใหม่
ศึกษาความสำคัญและการพัฒนาการทางโรคพืชที่มีผลต่อการเกษตร เชื้อสาเหตุ การแพร่ระบาด การเข้าทำลายของโรค อาการของโรค การวินิจฉัยโรค การพยากรณ์โรค ระบบการป้องกันตนเองชองพืช และการควบคุมโรคพืชด้วยวิธีการต่างๆ 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
วันจันทร์และศุกร์ เวลา 14.00 - 16.30 น. ห้องปฏิบัติการอารักขาพืช  โทร 09-07539051
 e-mail; janruangsaw@gmail.com   ทุกวัน
นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีคุณธรรม สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ดังนี้
1) มีจิตรสำนึกสาธารณะ การทำงานร่วมกับผู้อื่น
2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4) เคารพสิทธิและกฎกติกาของสังคม
1) ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา  การแต่งกายให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2) ฝึกให้ทำงานกลุ่ม เพื่อให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
3) สอดแทรกคุณธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบของนักศึกษาจากการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามมอบหมาย 
2) ประเมินความซื่อสัตย์ จากการทำงานที่มอบหมายและการสอบ โดยไม่คัดลอกงานของผู้อื่น
3) ประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วมจากการทำงานกลุ่มในชั้นเรียนและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งในด้านทฤษฎีและหลักปฏิบัติ ด้านโรคพืชและวิธีการควบคุม
2) มีความรอบรู้ และสามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีด้านโรคพืช พร้อมทั้งสามารถประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
 ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ ทั้งภาคบรรยาย และปฏิบัติการโดยเน้นหลักการทางทฤษฏีร่วมกับการประยุกต์ภาคปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง  มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้การเรียนมีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
 
 
1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2) สอบภาคปฏิบัติ
3) ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล งานกลุ่มและการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
 นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้เมื่อจบการศึกษาแล้ว โดยเน้นให้นักศึกษาได้คิดหาสาเหตุ เข้าใจที่มาของปัญหาและหาวิธีการแก้ปัญหาด้วยเหตุผล ซึ่งนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติดังนี้
1) สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มีเหตุผล
2) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถนำพื้นฐานความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้จนเกิดองค์ความรู้ใหม่
3) ใผ่เรียนรู้ และแสวงหาความรู้เพิ่มเติมอย่างสม่ำเสมอ
1) มีกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อให้นักศึกษาได้หาสาเหตุของปัญหา ทำความเข้าใจ และประเมินผลข้อมูล 
2) ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติการแก้ปัญหาจริง
3) นำผลและข้อมูลมาอภิปราย เพื่อระดมความคิด วิเคราะห์ปัญหา และหาข้อมูลเพิ่มเติ่ม เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหา
ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การอภิปรายผล และการหาข้อมูลเพิ่มเติม
1) มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ มีเหตุมีผล มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความซื่อสัตย์ สุจริต
2) มีจิตอาสาและจิตสำนึกสาธารณะ มีความเสียสละ
3) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
 4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
2) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย
3) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้ร่วมงาน  รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4) วางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ และแนวทางปฏิบัติของส่วนรวม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่ม
1) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย การฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารได้เหมาะสม และใช้ภาษาอังกฤษในการนำเสนอได้
2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
 
ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือกรณีศึกษา แล้วนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น Power Point
1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
2) ประเมินความสามารถในการอธิบายขั้นตอนการเก็บข้อมูล การประมวณผล และการสรุปผล
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG110 โรคพืชและการควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1, 4 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 2, 3, 5 การสอบภาคปฏิบัติ 4 ครั้ง 4, 7, 11, 14 30 %
3 2, 3, 5 การสอบกลางภาค 9 20 %
4 2, 3, 4, 5 งานมอบหมาย 16 20 %
5 2, 3, 5 การสอบปลายภาค 17 20 %
คณาจารย์. 2558. โรคพืชวิทยา. สาขาวิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 280 หน้า.
ประสาทพร สมิตะมาน. 2534. โรคพืชวิทยา. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ไพโรจน์  จ๋วงพานิช. 2525. หลักวิชาโรคพืช. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
วรรณวิไล อินทนู. 2547. การวินิจฉัยโรคพืชและการจัดการโรค. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. นครปฐม.
วิบูลย์ จงรัตนเมธี. 2543. การตรวจวัดประชากรศัตรูพืช. ใน สืบศักดิ์ สนธิรัตน์ (บก.) การจัดการศัตรูพืช (หน้า 5-14). กรุงเทพฯ: รั้วเขียว.
สืบศักดิ์  สนธิรัตน. 2540. การจัดการโรคพืช. ภาควิชาโรคพืช  คณะเกษตร  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
อนงค์  จันทร์ศรีกุล. 2533. โรคและศัตรูบางชนิดของผักและการป้องกันกำจัด. ไทยวัฒนาพานิช จำกัด. กรุงเทพฯ.
เอี่ยน  ศิลาย้อย. 2536. โรคพืชไม้ผล สมุนไพร และการป้องกันกำจัด. กองโรคพืชและจุลชีววิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 314 หน้า
วรรณวิไล อินทนู. 2547. การวินิจฉัยโรคพืชและการจัดการโรค. ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2543. การจัดการศัตรูพืช. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
เว็ปไซต์เกี่ยวกับโรคพืช
1.1 ใช้แบบประเมินผู้สอน 
1.2 ใช้แบบประเมินรายวิชา 
    2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา
    2.2  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
    3.1  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
    3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ