การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล

Digital Signal Processing

1. เข้าใจสัญญาณและระบบแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา
2. เข้าใจหลักการแปลงซี
3. เข้าใจการสุ่มสัญญาณที่ต่อเนื่องทางเวลาและการเปลี่ยนอัตราการสุ่ม
4. เข้าใจการวิเคราะห์การแปลงของระบบเชิงเส้นที่ไม่แปรผันตามเวลา
5. เข้าใจการแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต
6. เข้าใจการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว
7. เข้าใจการออกแบบวงจรกรองดิจิตอลและการประยุกต์ใช้งาน
8. เห็นความสำคัญของการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน มีความเข้าใจเกี่ยวกับ สัญญาณและระบบที่มีลักษณะไม่ต่อเนื่องทางเวลา การแปลงแบบซี หลักการสุ่มสัญญาณและการสร้างสัญญาณคืน การวิเคราะห์ระบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่มีคุณสมบัติเป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา การแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว การออกแบบวงจรกรองดิจิตอลและการประยุกต์ใช้งาน เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาและการใช้งานด้านการประมวลผลสัญญาณดิจิตอลระดับสูงขึ้นไป
ศึกษาเกี่ยวกับสัญญาณและระบบที่เป็นแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา การแปลงแบบซี หลักการสุ่มสัญญาณและการสร้างสัญญาณคืน การเปลี่ยนอัตราการสุ่ม การวิเคราะห์ระบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่มีคุณสมบัติเป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา การแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว การออกแบบวงจรกรองดิจิตอล และการประยุกต์ใช้งาน
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพัก
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม  สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
              1.1.1    มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
              1.1.2    มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
              1.1.3    มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
                              1.1.4      เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1   สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
                1.2.2   สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
                1.2.3   เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
                1.2.4   ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
                1.2.5   เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
                1.2.6   ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
               1.2.7   ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1  ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
                1.3.2   ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
                1.3.3   ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
                1.3.4   ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
               1.3.5   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
มีความรู้และเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับสัญญาณและระบบที่เป็นแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา การแปลงแบบซี หลักการสุ่มสัญญาณและการสร้างสัญญาณคืน การเปลี่ยนอัตราการสุ่ม การวิเคราะห์ระบบเวลาไม่ต่อเนื่องที่มีคุณสมบัติเป็นเชิงเส้นและไม่แปรผันตามเวลา การแปลงฟูเรียร์แบบดิสครีต การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว การออกแบบวงจรกรองดิจิตอล และการประยุกต์ใช้งาน
บรรยาย  อภิปราย การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจหลักการ การคำนวณเพื่อการวิเคราะห์
2.3.2   ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.1    การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
               3.2.2      การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
3.3.1   สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และการคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ บรูณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชาการการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
3.3.2   ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน
3.3.3   วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเนื้อหาวิชาในส่วนของการประยุกต์ใช้งานหรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2   ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้เรียน
5.1.2   พัฒนาทักษะการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพือแก้ไขปญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.5   พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตอย่างเป็นระบบ
5.1.6   พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
         5.1.7  พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษาได้
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. พรชัย  ภววงษ์ศักดิ์, การประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบื้องต้น, 2000
           2. รศ.ดร. เอก  ไชยสวัสดิ์, สัญญาณและระบบ, 2554
           3. รศ.ดร. สมศักดิ์  ชุมช่วย, การประมวลผลสัญญาณเชิงเลขเบื้องต้น, 2554
           4. Sanjit K. Mitra, Digital Signal Processing, 3rd, 2006
           5. Alan V. Oppenheim, Alan S. Willsky and With S. Hamid Nawab, Signals and Systems, 1997
               6. Vinay K. Ingle and John G. Proakis, Digital Signal Processing using MATLAB, 2nd, 2007
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร