การจัดการดินและปุ๋ย

Soil and Fertilizer Management

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้  1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจถึงหลักในการจัดการดินทางด้าน สมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน รวมถึงการจัดการดินที่มีปัญหาให้เหมาะสมกับการปลูกพืช  1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจถึงหลักปฏิบัติในการจัดการธาตุอาหารแก่พืชเศรษฐกิจที่สำคัญบางชนิด  1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการธาตุอาหารในการผลิตพืชอินทรีย์ 1.4 นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น แต่งกายถูกต้องตามระเบียบ ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม สามารถสืบค้นและใช้สื่อสารสนเทศได้
เพื่อเพิ่มทักษะการค้นคว้า การอ่าน การวิเคราะห์ และสรุปงานวิจัยใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการดินและปุ๋ย เพื่อจัดทำรายงานหรือนำเสนองานในชั้นเรียน และเพิ่มทักษะการลงมือปฏิบัติการปรับปรุงดินโดยการปลูกพืชในกระถาง ในโรงเรือน การจดบันทึก การสรุปผลการปฏิบัติงาน
แนวทางการจัดการดินและปุ๋ยเพื่อการผลิตพืชบนพื้นฐานของความชื้น อินทรียวัตถุ และระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับพืชเฉพาะอย่าง การจัดการดินในภาคเกษตรอินทรีย์ มีการศึกษานอกสถานที่
Study and practice of soil and fertilizer management for plant production on the basis of humidity, organic matter and soil fertility level. Soil and fertilizer management for a particular plant. Soil management in organic agriculture. And field trip education
 
3.1 จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและข้อแนะนำ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ (วันพุธ เวลา 15.00-17.00 น. ห้องสำนักงานพืชศาสตร์ หมายเลขโทรศัพท์ภายใน 1125)  3.2 e-mail; Pramoth2550@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน  3.3 Facebook การจัดการดินและปุ๋ย 2563
1. มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
2. มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ  - ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดเวลา ความซื่อสัตย์ในการสอบและการทำงานมอบหมาย
2.2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2.1.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่มการนำเสนอรายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษาและมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยนำมาสรุปและนำเสนอการศึกษาโดยใช้ปัญหาและโครงงาน Problem based learning
การทดสอบย่อย การทดสอบกลางภาค-ปลายภาค ประเมินจากรายงาน ประเมินจากการนำเสนองาน
1. สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
2. สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3. ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายให้นักศึกษาทดลองปรับปรุงดินโดยการทดลองเปรียบเทียบในกระถาง จดบันทึกข้อมูล รายงานผล
ประเมินจากผลการปฏิบัติงานจริง  2. ประเมินจากการรายงานผลหน้าชั้นเรียน และรายงานสรุปผลการดำเนินงาน 
2.4.1.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
2.4.1.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
มอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม
สังเกตพฤติกรรมในขณะปฏิบัติงาน
1. มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 2. มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล  การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1 2
1 BSCAG135 การจัดการดินและปุ๋ย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงานตรงเวลา 1-17 5%
2 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การส่งรายงานบทปฏิบัติการตรงเวลา รับผิดชอบงานที่มอบหมาย 1-17 5%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6และ 10 15%
4 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ การสอบกลางภาค/งานที่ปฏิบัติ 8 30%
5 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ การสอบปลายภาค/งานที่ปฏิบัติ 18 30%
6 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทำงานกลุ่ม/การนำเสนองาน/การรายงานบทปฏิบัติการ 14 15%
จำเป็น อ่อนทอง. 2549. ดินมีปัญหาและการจัดการ. สงขลา : ภาควิชาธรณีศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.  Blanco-Canqui, Humberto, Lal, Rattan. 2008. Principles of Soil Conservation and Management. Springer
กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. การจัดการดินและพืชเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน. กรมพัฒนาที่ดิน. 2540. การจัดการดินลูกรัง. กรุงเทพฯ : กรมพัฒนาที่ดิน.  กรมพัฒนาที่ดิน. 2543. การชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาที่ดิน.  กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกข้าวขาวมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.  กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกข้าวโพดฝักอ่อนในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.  กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกมันสำปะหลังในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.  กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกสับปะรดในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.  กรมพัฒนาที่ดิน. 2546. คู่มือการจัดการดินเพื่อปลูกหน่อไม้ฝรั่งในระบบเกษตรอินทรีย์. กรุงเทพฯ:  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2540. การจัดการดินเค็ม. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2540. การจัดการดินเปรี้ยวจัด. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.  กลุ่มวิจัยและพัฒนาการอนุรักษ์ดินและน้ำพื้นที่พืชไร่. การอนุรักษ์ดินและน้ำ. แหล่งที่มา: http://  www.ldd.go.th/flddwebsite/web_ord/Old%20Data/Web_ord/Technical/pdf/P_Technical06014.pdf  กลุ่มอนุรักษ์ดินและน้ำ. 2544. นิยามและและทางเลือกมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ. กรุงเทพฯ:  กรมพัฒนาที่ดิน.  คณะกรรมการจัดทำปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  คณาจารย์ ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2544. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  สงบ สำองค์ศรี. 2544. การจัดการดินบนพื้นที่ลาดชัน (กลุ่มชุดดินที่ 62) เพื่อปลูกไม้ยืนต้นใน  ระบบวนเกษตรเชิงอนุรักษ์ดินและน้ำ. ราชบุรี : สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 10 กรมพัฒนา  ที่ดิน.  สุรสิทธิ์ ซาวคำเขต. 2551. วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำโดยใช้แรงคน : กรณีศูนย์พัฒนาโครงการ  หลวงหนองเขียว ต. เมืองนะ อ.เชียงใหม่. เชียงใหม่ : สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6 กรมพัฒนา  ที่ดิน.  เอิบ เขียวรื่นรมย์. 2542. การสำรวจดิน: มโนทัศน์ หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  Harpstead, M.I., Sauer, Th. J. and Benneth. 2001. Soil Science Simplified. Fourth edition. Ames: Iowa State University Press.W.F.  Lal, R. and Bobby, A.S. 1995. Soil management and greenhouse effect. Iowa: CRC Press.  Storey, P.J. 2002. Conservation and Improvement of Sloping Land: A Manual of Soil and Water Conservation and Soil Improvement on Sloping Lands, Volume 1: Practical Understanding. NH: CRC Press.
- www.ldd.go.th  - www.science-direct.com  - www.springerlink.com
ไม่มี
หลักสูตรกำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
ปรับปรุงเน้ือหาที่สอนโดยสอดแทรกงานวิจัยใหม่ๆๆที่เกี่ยวข้อง ปรับปรุงสื่อการสอน ปรับปรุงวิธีการ/เทคนิคการสอน
ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย
ทบทวนกระบวนการเรียนการสอนและผลการเรียนรู้ของนักศึกษาเพ่ือนำไปปรับเปลี่ยนรูปแบบและเทคนิคการสอนสำหรับภาคการศึกษาถัดไป