ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 4

Interior Architectural Design 4

1. เข้าใจประเภทและกระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารบริการชุมชนและการศึกษา          2. ทราบหลักการ องค์ประกอบ งานระบบ การรับรู้ที่ว่าง และจิตวิทยาการออกแบบ ที่เกี่ยวกับการออกแบบภายในอาคารบริการชุมชนและการศึกษา           3. สามารถรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการจริง และ ศึกษาเปรียบเทียบ กรณีศึกษา เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล หน้าที่ใช้สอย ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน และแนวความคิด ออกแบบสถาปัตยกรรมภายในฯ          4.สามารถออกแบบและนำเสนองานสถาปัตยกรรมภายในอาคารบริการชุมชนชุมชนและการศึกษาประเภทต่างๆ
1. ปรับปรุงเนื้อหาการสอนให้ทันสมัย 2. ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนเน้นการศึกษาข้อมูลเฉพาะของโครงการอาคารบริการชุมชนและการศึกษา จากผู้ประกอบการจริง เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับกระบวนการออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายในอาคารบริการชุมชนชุมชนและการศึกษา
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบงานสถาปัตยกรรมภายในของอาคารประเภท ชุมชนและการศึกษา การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลผู้ประกอบการจริง โดย ใช้กระบวนการออกแบบและรวบรวมข้อมูล หลักการและองค์ประกอบในการ ออกแบบ แนวความคิด หน้าที่ใช้สอย ความสัมพันธ์ของพื้นที่ภายใน การรับรู้ ที่ว่าง จิตวิทยาการออกแบบ และงานระบบที่เกี่ยวข้อง ศึกษาเปรียบเทียบ กรณีศึกษาจริง และศึกษาดูงาน
อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน  -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 4  ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม    มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ              
1.3 มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 1.2.2    สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา 1.2.3    สอนให้มี ระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมในรายวิชา                 1.3.2   ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา          2.2.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา                                2.2.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 การบรรยาย  ยกตัวอย่างด้วยภาพงานตกแต่งภายในและภาพผลงานการออกแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการ ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน 2.2.2 การเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดย การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง 2.2.3 ฝึกประสบการณ์หรือ ฝึกปฏิบัติงานออกแบบ
2.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินจากการให้นักศึกษาปฏิบัติการจัดวางผัง และออกแบบพื้นที่ต่างๆของอาคารประเภทชุมชน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ                                        3.1.2 มีทักษะในการน าความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การบรรยาย ยกตัวอย่างด้วยภาพงานตกแต่งภายในและภาพผลงานการออกแบบ   3.2.2 กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลมอบหมายให้สืบค้นข้อมูลและจัดทำรายงาน   3.2.3   การมอบให้นักศึกษาค้นคว้าหาองค์ประกอบและงานระบบที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ   3.2.4   การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติการจัดวางผัง และออกแบบพื้นที่ต่างๆ
3.3.1   ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน ประเมินผลงานรายงาน และการนำเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน ดังนี้            - รายงานการศึกษาองค์ประกอบและงานระบบที่เกี่ยวข้องในการออกแบบ            - การนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาประยุกต์ใช้ออกแบบ 3.3.2   สังเกตจากกระบวนการทำงาน  และการแก้ปัญหาในการทำงานของนักศึกษา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี 4.1.2 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม 4.2.2 มอบหมายงานโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม  การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับผู้ประกอบการ การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ งานของผู้อื่น 
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียน 4.3.2 ประเมินจากการติดต่อประสานงานกับผู้ประกอบการ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไข ปัญหาอย่างเหมาะสม                   5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี  ประสิทธิภาพ
5.2.1 ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม 5.2.2 มอบหมายงานทำรายงานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และการนำเสนอหน้าชั้นเรียนด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลในการนำเสนองาน             5.3.2 การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการอธิบายการนำเสนองาน
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย 
6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ                                                             6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                                    6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 ใช้วิธีการสอนด้วยการใช้กรณีศึกษาโครงงาน            6.2.2 การสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARIA104 ออกแบบสถาปัตยกรรมภายใน 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค รายงานการค้นคว้าข้อมูลหลักการออกแบบฯ 9 18 4-11 5% 5% 10%
2 2.3.2 3.3.1 3.3.2 การเก็บข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลจากโครงการจริง การประเมินการทำงานตามกระบวนการออกแบบ การประเมินผลการออกแบบ(Sketch Design) ความสำเร็จของผลงานออกแบบ 1/5/12 4-8 /11-17 2 8/17 10% 10% 5% 25%
3 1.3.1-1.3.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 4.3.1 4.3.2 ความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มและผลงาน การติดต่อประสานงานผู้ประกอบการ ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 5.3.1 5.3.2 การสื่อสาร การใช้ภาษา การเลือกใช้เครื่องมือนำเสนอที่เหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 6.3.1 ทักษะในการการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ ตลอดภาคการศึกษา 10%
ห้องสมุด ประเภทต่างๆ                 - ศูนย์เรียนรู้                 - พิพิธภัณฑ์                 - ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวฯ                 - ศูนย์หัตถกรรมต่างๆ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการจัดวางผัง และ การตกแต่งศูนย์การเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์ ฯลฯ 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือด้านสถาปัตยกรรม,สถาปัตยกรรมภายใน