วิทยาระเบียบวิธีการออกแบบสถาปัตยกรรม

Architectural Design Methodology

เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และสร้างกระบวนการในการออกแบบสถาปัตยกรรมของตนเองได้ และทดลองวิธีการออกแบบที่หลากหลายในงานสถาปัตยกรรมได้
วัตถุประสงค์ของรายวิชา (เป็นวิชาใหม่ เพิ่งเปิดในภาคเรียน 2/2563 เป็นภาคเรียนแรก)

1. คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา 
- ไม่มี

2. ความรู้ 
- ไม่มี

3. ทักษะทางปัญญา
- ไม่มี

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 
- ไม่มี

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
- ไม่มี
 
6. ทักษะพิสัย
- ไม่มี
ศึกษาขั้นตอนในการกำหนดโปรแกรมในการออกแบบสถาปัตยกรรม ฝึกฝนการตั้งคำถาม การสร้างตรรกะเหตุผล การค้นคว้าหาข้อมูล การวิเคราะห์โจทย์ในการออกแบบ การสร้างแนวความคิด ตลอดจนสร้างการตระหนักรู้ทางโครงสร้าง งานระบบอาคาร ข้อกำหนด กฏหมายและเทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ด้วยการแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน และใช้ Social Network เป็นช่องทางติดต่อปรึกษานอกเวลาเรียน
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
- สร้างความเข้าในเรื่องระเบียบวินัย และ กฏกติกา ในการเรียนออนไลน์ 
- เน้นย้ำเรื่องวินัยในการเข้าเรียน (ศึกษาตัวตนเองออนไลน์) ให้เป็นประจำ สม่ำเสมอ
- เช็คการเข้าดูบทเรียนออนไลน์ 
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- จัดการเรียนการออนไลน์ ที่นักศึกษาสามารถสอบถามหรือแสดงความคิดเห็นได้ตลอดเวลา 
- จัดการเรียนการสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง อัพเดทข้อมูลบรรยาย และใช้กรณีศึกษาที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน เป็นสื่อการสอนให้นักศึกษา
- จัดให้มีเนื้อหาในการบรรยายที่มีการบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ศิลปะ ดนตรี เป็นต้น
- ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ให้ Assignment ที่นักศึกษาต้องใช้กระบวนการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
- มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี  - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- จัดการเรียนการสอนแบบกลุ่ม 
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  - สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- ฝึกทักษะการเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมให้สัมพันธ์กับเนื้อหาที่เลือกศึกษา
- ให้ Assignment ที่นักศึกษาต้องใช้กระบวนการสืบค้น ในการแก้ไขปัญหา
- ประเมินจากการเลือกวิธีการนำเสนอผลงานและการวิธีการสืบค้นข้อมูล
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฎิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวกับสถาปัตยกรรม 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในสถาปัตยกรรมศาสตร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BARAT109 วิทยาระเบียบวิธีการออกแบบสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม เช็คการเข้าดูบทเรียนออนไลน์ ตลอดภาคการศึกษา 15%
2 ความรู้ ประเมินจากผลงานของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 ทักษะทางปัญญา ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 15%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินจากการเลือกวิธีการนำเสนอผลงานและการวิธีการสืบค้นข้อมูล ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 ทักษะพิสัย ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ไม่มี
Keywords 
Problem Based
User Based
Area Based
Subject Based
https://issuu.com/andrew-chaplin/docs/architecture_of_diagrams
https://placebrandingofpublicspace.files.wordpress.com/2013/01/pole-dance-01.jpg
http://so-il.org
https://www.dezeen.com/
https://romesentinel.com/stories/western-new-york-gets-ok-to-begin-reopening,98238
https://www.mvrdv.nl/
https://www.archdaily.com
https://www.safdiearchitects.com
https://www.big.dk
https://oma.eu/projects/seattle-central-library
https://core.ac.uk/reader/41337480
https://www.herzogdemeuron.com
 
 
 เนื่องจากเป็นการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ผ่าน platform social media (Ms Teams) กำหนดให้มีการประเมินผ่านแบบสอบถาม หลังการสอบปลายภาค
1. จากผลงานของนักศึกษาในแต่ละครั้ง 
2. จากผลการเรียนของนักศึกษาเมื่อจบภาคการศึกษา
3. จากความคิดเห็นของนักศึกษา ผ่าน platform facebook และ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาหลังเรียนจบเทอม (Google Form Format)
ไม่มี (เป็นการสอนออนไลน์ และเป็นวิชาที่เปิดใหม่ครั้งแรก)
1. อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ 2. นักศึกษาสามารถขอดูคะแนนย่อยต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบตนเองหากเกิดข้อสงสัย
ไม่มี (เป็นการสอนออนไลน์ และเป็นวิชาที่เปิดใหม่ครั้งแรก)