เทคโนโลยีเครื่องจักรกลอัตโนมัติ

Automatic Machine Tool Technology

    เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลซีเอ็นซี เครื่องจักรกลซีเอ็นซี   ระบบการควบคุมระบบโคออดิเนท   จุดศูนย์ต่างๆ ของเครื่องจักรกลซีเอ็นซี    เครื่องมือตัดและระบบเครื่องมือตัด   โปรแกรมซีเอ็นซี  การผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องจักรกลซีเอ็นซี      การบำรุงรักษาเครื่องซีเอ็นซี  การหาเวลาที่ใช้ผลิตชิ้นงาน    การคิดราคา      ปฏิบัติการผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องกลึงซีเอ็นซีและเครื่องกัดซีเอ็นซี
เพื่อให้รายวิชานี้เป็นรายวิชา ที่นักศึกษาได้ศึกษาแล้ว มีความรู้  และฝึกปฏิบัติผลิตชิ้นงานโดยใช้ เครื่องจักรกลอัตโนมัติ หรือ เครื่องซีเอ็นซี
      ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลซีเอ็นซี เครื่องจักรกลซีเอ็นซี   ระบบการควบคุมระบบโคออดิเนท   จุดศูนย์ต่างๆ ของเครื่องจักรกลซีเอ็นซี   เครื่องมือตัดและระบบเครื่องมือตัด  โปรแกรมซีเอ็นซี  การผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องจักรกลซีเอ็นซี   การบำรุงรักษาเครื่องซีเอ็นซี  การหาเวลาที่ใช้ผลิตชิ้นงาน    การคิดราคา   ปฏิบัติการผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องกลึงซีเอ็นซีและเครื่องกัดซีเอ็นซี
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา  ในช่วงเลิกเรียนแต่ละครั้ง
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์  
    (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย  มีความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย  โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยาย ถามตอบ  มีการตรวจสอบเวลาเรียนของนักศึกษาทั้ง ภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติ
                       1.  พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
                        2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
มีความรู้เกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลซีเอ็นซี เครื่องจักรกลซีเอ็นซี   ระบบการควบคุมระบบโคออดิเนท   จุดศูนย์ต่างๆ ของเครื่องจักรกลซีเอ็นซี   เครื่องมือตัดและระบบเครื่องมือตัด  โปรแกรมซีเอ็นซี  การผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องจักรกลซีเอ็นซี   การบำรุงรักษาเครื่องซีเอ็นซี  การหาเวลาที่ใช้ผลิตชิ้นงาน    การคิดราคา   ปฏิบัติการผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องกลึงซีเอ็นซีและเครื่องกัดซีเอ็นซี
ทฤษฎี  สอนแบบ บรรยาย-ถามตอบ
ปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับการเขียนใบวางแผนการทำงานเพื่อผลิตชิ้นงาน เขียนโปรแกรม  เพื่อผลิตชิ้นงาน  ปฏิบัติการใช้เครื่องจักรกลซีเอ็นซีงานกลึงและงานกัด เพื่อผลิตชิ้นงาน
 ทฤษฎี ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค  ปฏิบัติ ตรวจสอบจากใบวางแผนการทำงานและชิ้นงานที่นักศึกษาได้จาก การฝึกปฏิบัติ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้  เครื่องจักรกลอัตโนมัติ
      1. ทฤษฎี  บรรยาย ถามตอบ
      2. งานปฏิบัติ การใช้เครื่องจักรกลอัตโนมัติ  และใช้เครื่องจักรกลผลิตชิ้นงาน
1.  วัดผลจากการประเมิน การสอนงานปฏิบัติ และชิ้นงานที่นักศึกษาผลิต
 2. สังเกตพฤติกรรมการ การฝึกปฏิบัติงาน  และชิ้นงานที่ผลิตได้
1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2.  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1. บรรยาย และยกตัวอย่างประกอบ มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
2. การนำเสนอรายงาน
1  ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1.  ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
2.  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
3.   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
4.   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
2.  นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมแม่พิมพ์กับหน่วยงานภายในและภายนอก จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา สนับสนุนการทำโครงงานสหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ในสถานประกอบการ
มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา

                 5. มีการประเมินนักศึกษาในวิชาสหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 5 1 2 3 4 ึ7 1 3 4 2 1 3 4 1 2 3
1 ENGTD106 เทคโนโลยีเครื่องจักรกลอัตโนมัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ความรู้เกี่ยวกับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลซีเอ็นซี เครื่องจักรกลซีเอ็นซี ระบบการควบคุมระบบโคออดิเนท จุดศูนย์ต่างๆ ของเครื่องจักรกลซีเอ็นซี เครื่องมือตัดและระบบเครื่องมือตัด โปรแกรมซีเอ็นซี การผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องจักรกลซีเอ็นซี การบำรุงรักษาเครื่องซีเอ็นซี การหาเวลาที่ใช้ผลิตชิ้นงาน การคิดราคา ปฏิบัติการผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องกลึงซีเอ็นซีและเครื่องกัดซีเอ็นซี 1. ทฤษฎี ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. ปฏิบัติ ตรวจสอบจากใบวางแผนการทำงานและชิ้นงานที่นักศึกษาได้จากการฝึกปฏิบัติ 8 และ 17 20 %
3 ความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้ เครื่องจักรกลอัตโนมัติ 1. วัดผลจากการประเมิน การสอนงานปฏิบัติ และชิ้นงานที่นักศึกษาผลิต .2. สังเกตพฤติกรรมการ การฝึกปฏิบัติงาน และชิ้นงานที่ผลิตได้ ตลอดภาคการศึกษา 40 %
4 1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 2. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด .2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง ตลอดภาคการศึกษา 10 %
5 1. ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข 2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 4. พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5. ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
6 1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี 1. มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 2. มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน 3. มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ 4. มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา 5. มีการประเมินนักศึกษาในวิชาสหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ ตลอดภาคการศึกษา 10 %
     1)  สุวิช    มาเทศน์.  เทคโนโลยีซีเอ็นซี. สาขาวิชาวิศวกรรมแม่พิมพ์   คณะวิศวกรรมศาสตร์    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา   ภาคพายัพ เชียงใหม่,                                    2558
     2)  Software Description. EMCO WinNC  Fanuc  0-M  EMCO MAIER Gesellschaft   m.b.H.  Hallien/Austria, 1995
     3)  Software Description. EMCO Fanuc  0- T  EMCO MAIER Gesellschaft m.b.H.  Hallien/Austria,1995
ไม่มี
      เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์ , CNC Machine.
                  1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
              2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
              3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ผลการเรียนของนักศึกษา

              3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ