ออกแบบชุมชนเมือง

Urban Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจความเป็นมาและพัฒนาการออกแบบชุมชนเมือง หลักการและแนวคิดในการออกแบบชุมชนเมือง  เข้าใจการสร้างสุนทรียภาพ การสร้างสรรค์สภาพแวดล้อม ที่มีต่อพื้นที่ชุมชนและเมือง และมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการสำรวจและการออกแบบชุมชนเมืองในพื้นที่ขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือพัฒนา และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรมที่สร้างสรรค์การอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่สภาพแวดล้อมให้มีคุณภาพที่เหมาะสมต่อบริบทชุมชนและเมือง
-
ศึกษาความเป็นมาและพัฒนาการออกแบบชุมชนเมือง หลักการและแนวคิดในการออกแบบชุมชนเมือง การสร้างสุนทรียภาพ การสร้างสรรค์สภาพแวดล้อม ฝึกปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมืองในพื้นที่ขนาดเล็กเพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือพัฒนา
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยประกาศเวลาให้คำปรึกษา
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
กําหนดกติกาการเข้าเรียนและการส่งงาน ให้ความสําคัญและสร้างความตระหนักในบทบาท สถาปนิกชุมชนทีควรจะมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชนและสิงแวดล้อม ส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และการสังเกตพฤติกรรม การเข้าเรียน การทำงานภาคสนาม งานภาคปฏิบัติ การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด  และ ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมศาสตร์
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาสถาปัตยกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษาในสถาปัตยกรรมศาสตร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชาออกแบบชุมชนเมือง นอกจากนี้ อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการสำรวจภาคสนาม การศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง 
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.4 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
2.3.5 ประเมินจากการทำงานในภาคสนาม
   3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
   3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
  3.2.1  ใช้กรณีศึกษาการออกแบบชุมชนเมือง การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
  3.2.2   ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสำรวจ วิเคราะห์ข้อมูล และนำเสนอผลการศึกษาและการออกแบบ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนําเสนองาน
3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.3.1    ประเมินจากบทบาทของนักศึกษาในกลุ่ม และผลสำเร็จของงานแต่ละกลุ่ม 4.3.2    ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อสังคมและพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม
4.3.1    ประเมินจากบทบาทของนักศึกษาในกลุ่ม และผลสำเร็จของงานแต่ละกลุ่ม 4.3.2    ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อสังคมและพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม
 
 
2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีสำรวจภาคสนาม สัมภาษณ์ความต้องการ การใช้กรณีศึกษาการออกแบบชุมชนเมือง วิเคราะห์แนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
 
ประเมินตามสภาพจริง โดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARAT508 ออกแบบชุมชนเมือง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน/พฤติกรรมในชั้นเรียน/การส่งงานตรงเวลา การเข้าชั้นเรียน/พฤติกรรมในชั้นเรียน/การส่งงานตรงเวลา 1-18 10%
2 ความรู้ สอบทฤษฎีกลางภาค สอบทฤษฎีปลายภาค 9, 18 25 %
3 ทักษะทางปัญญา นำเสนอแนวทางการออกแบบชุมชนเมือง 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 10 30 %
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 1-8 และ 10-13 15%
5 ทักษะการสื่อสารและใช้เทคโนโลยี
6 ทักษะพิสัย การนำเสนอผลงานปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 14, 15, 16, 17 20 %
กำธร กุลชล (2546) การออกแบบชุมชนเมืองคืออะไร : การติดตามหาคำตอบในรอบ 40 ปี. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
 
 
กฤตพร ห้าวเจริญ (2561) ทฤษฎีและแนวความคิดทางการวางแผนและผังเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
 
จิตติศักดิ์  ธรรมาภรณ์พิลาศ. (2558) สถาปัตยกรรมผังเมืองเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 
วิมลสิทธิ์ หรยางกูร, บุษกร เสรฐวรกิจ, ศิวาพร กลิ่นมาลัย (2556) จิตวิทยาสภาพแวดล้อม: มูลฐานการสร้างสรรค์และจัดการสภาพแวดล้อมน่าอยู่อาศัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จี.บี.พี เซ็นเตอร์ จำกัด
 
ปรานอม ตันสุขานันท์ และ มนสิชา เพชรานนท์. (2555) พื้นที่สาธารณะในเมือง : ชีวิตเมืองขอนแก่น. เชียงใหม่: แมกซ์ปรินท์.
 
 
ปรานอม ตันสุขานันท์ และ มนสิชา เพชรานนท์. (2559) การอนุรักษ์ชุมชนเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 
 
ระหัตร โรจนประดิษฐ์. (2554) การออกแบบชุมชนเมืองในสหราชอาณาจักร : Urban Design in The United Kingdom. เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 
 
ภคนันท์ เสนาขันธ์ รุ่งแสง. (2556). เมืองมีชีวิต: การใช้พื้นที่สาธารณะ. กรุงเทพมหานคร: บริษัทลายเส้น พับบลิชชิ่ง จำกัด. แปลจาก J. Gehl. 1971. Livert Mellem Husene.Copenhagen. n.p.
 
 
 
ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี และ วีระ สัจกุล. (2555). การใช้พื้นที่สาธารณะเป็นถนนคนเดินแบบตลาดนัดในเมืองของไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
 
 
 
ศรีสุเมธ ฤทธิ์ไพโรจน์. (2559). เมืองของผู้คน. กรุงเทพมหานคร: ลายเส้น. แปลจาก J. Gehl. 2011. Cities for People. Island press: Washington.
 
 
Jacobs, J. 1961. The death and life of great American cities. New York: Vintage.
 
 
บทความวิชาการ
1.       ศิวพงศ์ ทองเจือ. (2554) ขอบเขตด้านอาชีพ ของนักออกแบบชุมชนเมือง. ออนไลน์ . เข้าถึงจาก https://asiamuseum.co.th/upload/forum/ScopeOfUrbanDesignerProjectPart1.pdf
2.       วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2559) การออกแบบและพัฒนาชุมชนเมือง: สู่การสร้างสรรค์ความน่าอยู่อาศัย.
     วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม. 3 (2). 3-23.
 
3.    สิทธิพร ภิรมย์รื่น, โครงสร้างและองค์ประกอบการวางผังออกแบบพื้นที่ริมน้ำเพื่อฟื้นฟูศูนย์กลางเมืองเก่า: กรณีเมืองอุบล , NAJUA: Architecture, Design and Built Environment: Vol. 23 (2008): มกราคม - ธันวาคม 2551
 
4.  สิทธิพร ภิรมย์รื่น, การออกแบบชุมชนเมืองที่น่าอยู่ และยั่งยืน : ทฤษฎีและ ประสบการณ์ , NAJUA: Architecture, Design and Built Environment: Vol. 22 (2007): กันยายน 2549 - สิงหาคม 2550
 
5.    สิทธิพร ภิรมย์รื่น, การออกแบบสภาพแวดล้อมกายภาพเพื่อป้องกันอาชญากรรม , NAJUA: Architecture, Design and Built Environment: Vol. 3 (1983): มกราคม - ธันวาคม 2526
 
 
6.    สิทธิพร ภิรมย์รื่น, การอนุรักษ์ชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม : แนวคิดหลักการและผลการปฏิบัติ , NAJUA: Architecture, Design and Built Environment: Vol. 20 (2004): กันยายน 2546 - สิงหาคม 2547
 สอบถามนักศึกษาถึงจุดอ่อน จุดแข็งของรายวิชาและสิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุงขณะสอน  แบบประเมินรายวิชา
 2.1 แบบประเมินการสอน
 2.2 ข้อมูลจาก มคอ.5 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา
3.1  นำผลการประเมินรายวิชา และการประเมินการสอนมาปรับปรุงในจุดอ่อน
3.2  แก้ปัญหาข้อจำกัดด้านทรัพยากรที่มีเพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนของนักศึกษา
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงแผนการสอนทุกปี
5.2   การปรับปรุงรายวิชาตามรอบการปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี