ศึกษาดูงานสิ่งทอและเครื่องประดับ

Technical Visit to Textile and Jewelry

1. ดูงานด้านสิ่งทอและเครื่องประดับทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด
2. เข้าใจวิธีการบันทึกสิ่งที่มองเห็นจากการศึกษาดูงานสิ่งทอและเครื่องประดับ
3. เข้าใจวิธีการทำรายงานและการนำเสนอโครงงานที่ได้จากการศึกษาดูงาน
4. มีทักษะในการเขียนบันทึกและทำรายงานรวมถึงการเสนอโครงงานที่จะนำมาพัฒนา
ด้านสิ่งทอและเครื่องประดับ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ต่อยอดจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่ด้านสิ่งทอและเครื่องประดับ สามารถทำงานติดต่อมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ดีมีความสามารถในการเขียนบันทึกและทำรายงานรวมถึงการเสนอโครงงานที่จะนำมาพัฒนาด้านสิ่งทอและเครื่องประดับสามารถนำประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาดูงานไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนในวิชาชีพได้เป็นอย่างดีรวมถึงการเตรียมพร้อมที่จะเป็นนักออกแบบให้กับองค์กรที่นักศึกษาเข้าไปฝึกงานในชั้นปีต่อไป
ศึกษาดูงานและจัดทารายงานนาเสนอเกี่ยวกับสถานประกอบการด้านสิ่งทอและเครื่องประดับ
Technical visits to textile and jewelry and report writing about the visit.
- อาจารย์ประจารายวิชาแจ้งให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ทางไลน์ทาง email address
ของอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการของผู้เรียน
นักศึกษาต้องมีความตระหนักในคุณธรรมจริยธรรมและซื่อสัตย์สุจริตเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมผู้พัฒนาจำเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่นๆอาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ทั้ง 4 ข้อเพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆที่ศึกษารวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างน้อย 4 ข้อตามที่ระบุไว้
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัยขยันอดทนตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อมเคารพสิทธิใน
คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางใช้วิธีการสอนแบบ active learning มีกิจกรรมในชั้นเรียนและจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการภายในประเทศผู้เรียนนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายหน้าชั้นเรียนฝึกปฏิบัติให้มีการสังเกตการฟังและการบันทึกสิ่งที่มองเห็นข้อมูลความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงานหรือประสบการณ์ตรงที่ได้ระหว่างการศึกษาดูงาน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามใบงานที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 การเข้าร่วมศึกษาดูงานการบันทึกข้อมูลระหว่างการศึกษาดูงาน
1.3.3 ประเมินผลงานตามที่ได้รับมอบหมายและการนำเสนอในชั้นเรียน
1.3.4 ผู้เรียนประเมินผลตนเองและประเมินอาจารย์ผู้สอน
นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ที่เห็นจากการทำงานเครื่องมือเครื่องจักรการจัดแสดงผลงานโลกทัศน์เทคนิคในการทำงานการแก้ปัญหาการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของนักออกแบบในสถานประกอบการ
อาจารย์ผู้สอนพิจารณาสถานประกอบการภายในประเทศแล้วติดต่อประสานงานเพื่อให้นักศึกษาไปศึกษาดูงานบันทึกข้อมูลรวมทั้งให้นักศึกษานำเสนอผลการศึกษาดูงานที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองพัฒนาสถานศึกษานักศึกษาได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเดินทางและการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
2.3.1 ประเมินผลจากแบบบันทึกที่มอบหมายและประเมินจากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
2.3.2 ผู้เรียนประเมินตนเองและประเมินผลงานการสอนของอาจารย์
พัฒนาความสามารถในการสร้างกรอบคิดในการนาเสนอ Project ความสามารถในการสืบค้นเอกสารการวางแผนงานการปฏิบัติตัวมารยาททางสังคมการปฏิบัติตามกฎระเบียบในขณะเข้าศึกษาดูงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประกอบการการสร้างเครือข่ายความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการเรียนจากสื่อออนไลน์ที่ผู้สอนจัดทาและการส่งงาน
3.2.1บรรยายและให้โอกาสผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีเรียนรู้ด้วยตนเองวางแผนการเรียนและการประเมินผลการเรียนการตรวจสอบผลการเรียนด้วยตนเอง
3.2.2 การมอบหมายให้ผู้เรียนวิเคราะห์และสังเคราะห์วางแผนการศึกษาดูงานวิธีการบันทึกที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาหลักสูตร
3.2.3 มอบหมายให้ผู้เรียนฝึกสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆแล้วนามาวิเคราะห์สังเคราะห์การบันทึกการสังเกตการปฏิบัติตัวมารยาททางสังคมการปฏิบัติตามกฎระเบียบในขณะเข้าศึกษาดูงานการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประกอบการ
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการศึกษาดูงานเป็นการทารายงานการนำเสนอโปรเจคที่เป็นประโยชน์ต่อหลักสูตรต่อตัวนักศึกษาและต่อสถานประกอบการ
3.3.1 วัดผลจากการคะแนนงานปฏิบัติและการนาเสนอผลงาน
3.3.2 สังเกตพฤติกรรมการเรียนทั้งเรียนในชั้นเรียนและขณะศึกษาดูงาน
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันและระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้พูดและผู้ฟัง
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบขณะเดินทางศึกษาดูงานและส่งงานตามที่มอบหมาย
4.1.4 พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการส่งงานมีความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน
4.2.1 ให้ผู้เรียนปฏิบัติการบันทึกในขณะศึกษาดูงานตามหัวข้อที่กำหนดและนาเสนอในชั้นเรียน
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคลเช่นเขียนความคาดหวังของนักศึกษาที่ต้องการได้รับจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการภายในจังหวัดเชียงใหม่และต่างจังหวัด
4.2.3 นำเสนอสรุปผลรายงานที่มีประโยชน์ต่อตนเองต่อสถานประกอบการและต่อหลักสูตร
4.3.1 ประเมินตนเองและเพื่อน (กิจกรรมรายบุคคลและกิจกรรมกลุ่ม)
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 ประเมินจากนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูดการฟัง
5.1.2 พัฒนาทักษะในการเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารเช่นการติดต่อสื่อสารกันระหว่างศึกษาดู
งาน Scan และ Upload ส่งงานทางอินเทอร์เน็ตการสนทนในไลน์ในอีเมล์
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.1 กิจกรรม Active learning กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติตามหน่วยเรียน
5.2.2 นักศึกษาทางานตามใบงานที่มอบหมาย
5.2.3 นำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมายในชั้นเรียน
5.2.4 มอบหมายให้ส่งผลงานเป็นอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ทาง Google Classroom
5.3.1 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ
5.3.3 ประเมินจากการเข้าร่วมศึกษาดูงานความรับผิดชอบตัวเองขณะศึกษาดูงานการเป็นผู้ฟังที่ดี
มีทักษะพิสัยในการปฏิบัติด้านการเขียนบันทึกในขณะศึกษาดูงานและจัดทารายงานหลังจากศึกษาดูงานโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมายความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบวิธีการนำเสนองาน
ร่วมวางแผนการเดินทางการเลือกสถานประกอบการการขอความอนุเคราะห์จากสถานประกอบการการบันทึกข้อมูลระหว่างศึกษาดูงานการนำเสนอและร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมายและแนวคิดในการนาเสนอโครงงานที่เป็นประโยชน์หลังจากการฝึกงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 4 1 1 1 1
1 BAATJ117 ศึกษาดูงานสิ่งทอและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 , 17 15% 15%
2 3.1.1,3.1.2 ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติ (การจัดการเรียนเต็มเวลาในชั้นเรียนและศึกษาดูงานนอกสถานที่) ตลอดภาคเรียน 40%
3 5.1.1, 6.1.1 การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 1.1.1, 4.2.1,4.2.2 การเข้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม และผลการทำงาน ทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Allan Wooddrow, 2018. Field tripped. Scholatic Press.
Ronald V. Morris, 2014. The Field trip book. Information Age publishing.
แบบบันทึก สาหรับศึกษาดูงาน
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเมล์และเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตผู้เรียนขณะทากิจกรรมศึกษาดูงาน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา การส่งงานการนาเสนองาน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสัมภาษณ์นักศึกษา หรือการตอบแบบสอบถามของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบหลังการออกผลการเรียนรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงแผนการสอน และเนื้อหาให้ทันสมัย
5.2 ปรับปรุงรูปแบบการสอน ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21