พืชสวนประดับ

Ornamental Horticulture

1.1 มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตพืชสวนประดับ อย่างครบวงจร สามารถกำหนดนิยามความหมาย ความสำคัญ การจัดจำแนก อธิบายลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของพืชสวนประดับชนิดต่างๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชสวนประดับ อธิบายวิธีการขยาย พันธุ์ การปลูกและการปฏิบัติบำรุงรักษาพืชสวนประดับเพื่อการจำหน่าย การจำหน่ายพืชสวนประดับ
1.2 นำความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีการผลิตพืชสวนประดับ ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง
1.3 สามารถวิเคราะห์ตลาดพืชสวนประดับ และความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์ได้
1.4 มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบวิชาชีพผู้ผลิตพืชสวนประดับและอาชีพที่เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กัน
1.5 มีทักษะปฏิบัติด้านการขยายพันธุ์ การปลูกและการบำรุงรักษาพืชสวนประดับ มีการฝึกทักษะอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอจนเกิดความชำนาญ สามารถสาธิต ถ่ายทอดองค์ความรู้และทักษะปฏิบัติให้แก่ผู้ที่สนใจได้
เพื่อฝึกทักษะด้านการวิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการนำเทคโนโลยีด้านการผลิตมาใช้ในการผลิตพืชสวนประดับ เพื่อการค้าและการจัดจำหน่ายในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการเพิ่มพูนความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและนำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการผลิตและการจัดจำหน่าย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและประโยชน์ของพืชสวนประดับ พฤกษศาสตร์ การจัดจำแนกพืชสวนประดับ ชนิดพืชสวนประดับเพื่อการค้า ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชสวนประดับ การขยายพันธุ์ การปลูกและบำรุงรักษา การเตรียมพืชสวนประดับเพื่อจำหน่าย
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.ทำการสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย
- สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
-กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
2.การสอนแบบ Problem Based Learning
- ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
ใช้วิธีการสังเกต จาก
- การเข้าเรียนตรงเวลา
- การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่ทุจริตในการสอบ
-ความมีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
 
 
 
 
 
 
 
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
- มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การสอนแบบบรรยาย
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
4. การสอนในห้องปฏิบัติการ
 
1. การนำเสนองาน
- ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ข้อสอบอัตนัย
- ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
3. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกตีความ
4.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
5. การเขียนบันทึกผลการปฏิบัติ
 
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนแบบ Problem Base Based Learning โดยให้ทำโครงงานพิเศษการขยายพันธุ์ การปลูกเลี้ยงและบำรุงรักษาพืชสวนประดับเพื่อการจำหน่าย กลุ่มละ 200 ต้น
2.การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา
3. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
 
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
- ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ
2. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกวิเคราะห์ปัญหาและฝึกตีความ
3.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
4. การประเมินตนเอง
 
š4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.การสอนแบบ Brain Storming Group
2.. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
-มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้นักศึกษาเป็นผู้แบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
 
1.การสังเกต
2.การประเมินตนเอง
3.การประเมินโดยเพื่อน
 
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่าง
1. การสอนแบบ Problem Base Based Learning โดยให้ทำโครงงานพิเศษแล้วจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
โดยกำหนดให้สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง
2. แนะนำและสาธิตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การนำเสนองานด้วยวาจาและ PowerPoint
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมและจริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและสักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจทั้งด้านบททฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรอบรู้ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 21034302 พืชสวนประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน พฤติกรรมระหว่างเรียนภาคปฏิบัติ 1-17 7%
2 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา - สอบย่อย -สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - สอบย่อยทุกสัปดาห์ - สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 9 - สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 - ทำบทปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ - สอบย่อยและสอบกลางภาค 20% - สอบปลายภาค 20% - บทปฏิบัติการ 25%
3 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) .มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง - ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของโครงงานพิเศษ 2.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 3.การเขียนบันทึก 4. การประเมินตนเอง ทุกสัปดาห์ 15%
4 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 3%
5 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเสนองาน/การรายงาน ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องขององค์ประกอบในการนำเสนอ เช่น -การเตรียมความพร้อม - สื่อที่ใช้ - เนื้อหาที่นำเสนอ - ภาษาที่ใช้ -การตอบคำถาม สัปดาห์ที่ 17 10%
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2556.องค์ความรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต..สู่การเป็น smart officer : ไม้ดอกไม้
ประดับ. แหล่งข้อมูล http://agrimedia.agritech.doae.go.th/book/book-handbook/10
pdf.
กิตติ มุลาลินน์. 2537. พืชสวนประดับ:เอกสารประกอบการสอน วิชา 03-132-202 พืชสวน
(Ornamental horticulture ) ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล, สุรินทร์. 163 หน้า.
ปิฏฐะ บุนนาค. 2529. ไม้ดอกไม้ประดับ. พิมพ์ครั้งที่ 5 .กรุงเทพฯ : บรรณกิจ, 383 หน้า.
งานส่งเสริมและเผยแพร่และงานวิชาการ . 2537. คู่มือไม้ดอกไม้ประดับ . ฝ่ายวิชาการเกษตร กอง
สวนสาธารณะสำนักสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร กรุงเทพฯ .
โชติอนันต์ และคณะ. 2552. คุณประโยชน์มากหลาย ไม้ดอกไม้ประดับเมืองไทย.กรุงเทพฯ : ดวงกมล
พับลิชชิ่ง. 294 หน้า

โฉมเฉลา (บรรณาธิการ). 2534. เทคโนโลยีการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ. กรุงเทพฯ : สมาคมไม้

ประดับแห่งประเทศไทย, 193 หน้า.
ดนัย บุณยเกียรติ และคณะ. 2546. คู่มือมาตรฐานคุณภาพไม้ดอกไม้ประดับโครงการหลวง.เชียงใหม่] :
สำนักพัฒนาเกษตรที่สูง : มูลนิธิโครงการหลวง.. 82 หน้า.
พิสมัย ชวลิตวงษ์พร. 2538. แมลงศัตรูไม้ดอกไม้ประดับของประเทศไทย : เอกสารวิชาการประจำปี 2538.
กรุงเทพฯ]: กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 148 หน้า.
ไพฑูรย์ กิจเภาสงค์ . 2528. การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ขอนแก่น : ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 119 หน้า.
มุกดา สุขสวัสดิ์. 2547. วัสดุปลูกไม้ดอกไม้ประดับ. กรุงเทพฯ : บ้านและสวน. 204 หน้า .
รสสุคนธ์ พุ่มพันธุ์วงศ์. 2548. ไม้ดอกไม้ประดับ. กรุงเทพฯ : ประสานมิตร.132 หน้า.

โรจนวงศ์. 2525. การศึกษาศัตรูที่สำคัญบางชนิดของไม้ดอกไม้ประดับและการป้องกันกำจัด.

กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.4 หน้า.
วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม.2542. พจนานุกรมไม้ดอกไม้ประดับในเมืองไทย.กรุงเทพฯ : รวมสาส์น พิมพ์ครั้งที่ 4
981 หน้า
สุนทร ปุณโณทก. 2522. ไม้ดอกไม้ประดับและการตกแต่งสถานที่. กรุงเทพฯ : ภาษิต, 262 หน้า.
สมสุข มัจฉาชีพ และ อุดมลักษณ์ มัจฉาชีพ. 2536. ไม้ดอกไม้ประดับ. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา. 215 หน้า
อดิศร กระแสชัย. 2539. ปัจจัยเพื่อการสนับสนุนระบบการผลิตไม้ตัดดอกและไม้ประดับเป็นการค้าของ
ประเทศไทย เชียงใหม่ : ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 131 หน้า.
อทิพัฒน์ บุญเพิ่มราศรี . 2552. หลากหลายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับเพื่อการจัดสวน ณ สวนวิชา จ.ระยอง.
เคหการเกษตร. 33(8): 192-195.
โอฬาร พิทักษ์, ภาวนา อัศวะประภา, เศรษฐพงศ์ เลขะวัฒนะ,ทวีพงศ์ สุวรรณโร และ อภิชาติ สุวรรณ.
2539.การผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ. 153 หน้า.
ข่าวเกษตรประจำวัน. 2551. วช.วิจัยไม้ดอกไม้ประดับรับส่งออก . แหล่งข้อมูล
http://www.phtnet.org/news51 /view-news.asp?nID=461
โครงการฐานข้อมูลการนำเข้าและความนิยมไม้ดอกและไม้ประดับไทยในญี่ปุ่น งบรายจ่ายอื่น งบประมาณ
ประจำปี พ.ศ. 2551. แหล่งข้อมูล
http://www.thaiceotokyo.jp/th/index.php?option=com_content&view= article&id
=346:2009-06-26-08- 07-20&catid=58:2008-12-04-06-09-49&Itemid=182
จตุรพร รักษ์งาร. การผลิตไม้ดอกไม้ประดับโดยผ่านสถานเพาะชำ. เอกสารประกอบการสอนของคณะ
เกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร
มหาวิทยาลัยนเรศวร .
แหล่งข้อมูล. http://www.agi.nu.ac.th/webnewasp/ereading/jaturaporn/learn04.pdf
ชมรมพัฒนาไม้ดอกไม้ประดับ. 2539. การขยายพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ : เจเนอรัลบุ๊คส์.95 หน้า.
ดิน ก้อนเดิม. 2551. การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ. ไม้ดอกไม้ประดับ. 7(97): 62-65
นิรนาม. มปป. เทคโนโลยีการผลิตไม้ดอก. แหล่งข้อมูล webindex.chaonet.com/link.php?n
=9798
นิรนาม. มปป. ธุรกิจไม้ดอกไม้ประดับ. แหล่งข้อมูลlearn.pbru.ac.th/mod/resource/ view.php?id
=1524
นิรนาม. 2556. สถานการณ์ไม้ดอกไม้ประดับไทย ปี 2556. แหล่งข้อมูล www.kehakaset.com /index.php/9-uncategorised/1097-2556 ภูเรือ.. แหล่งผลิตไม้ดอกไม้ประดับสำคัญของประเทศ. แหล่งข้อมูลhttp://www. loeidee.com/ index.php?lay = show&ac=article&Id=5351095
รุ่งนภา ก่อประดิษฐ์สกุล, ชวนพิศ อรุณรังสิกุล และ ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล. 2549. ระบบควบคุมคุณภาพ
ผลผลิตทางการเกษตร ThaiGAP และ EUREPGAP : ข้อกำหนดทั่วไปสำหรับผักและผลไม้ ไม้
ดอกไม้ประดับ.นครปฐม : กลุ่มเครือข่าย GAP ภาคตะวันตก / หน่วยธุรกิจทดลองระบบผลิต
มาตรฐาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 96 หน้า.
รัฐศักดิ์ พลสิงห์. 2552. คลอง 15 – ถนนสายไม้ดอกไม้ประดับใหญ่ที่สุดในประเทศไทย.กสิกร 82(2) : 94- 100
สุธานิธิ์ ยุกตะนันทน์ อุไร จิรมงคลการ และวชิรพงศ์ หวลบุตตา. 2538. ไม้ดอกแสนสวย : ไม้ดอกไม้
ประดับ.กรุงเทพฯ : บ้านและสวน. 151 หน้า.
สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2554. เจาะตลาดไม้ดอกไทยในต่างแดน อินโดฯ
ตลาดใหญ่ทีไม่ควรมองข้าม. แหล่งข้อมูล http://www.acfs.go.th/read_ news.php?id
=7360&ntype=09
หน่วยวิจัยธุรกิจการเกษตร คณะเศรษฐศาสตร์.2541. รายงานวิจัยโครงการศึกษาสินค้ายุทธศาสตร์ : ไม้
ดอกไม้ประดับ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ. 284 หน้า.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯลฯ
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของ
รายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดย
อาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหา
ที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการ
ดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณา
ให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป