ออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม

Design Fundamentals in Architecture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีหลักการและวิธีการจัดองค์ประกอบในการออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม สัญลักษณ์ ความหมาย การรับรู้ และมีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าและความงาม
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการจัดองค์ประกอบในการออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม
2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสัญลักษณ์ ความหมาย การรับรู้ในการออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม
3. มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าและความงาม
ศึกษาหลักการออกแบบเบื้องตันทางสถาปัตยกรรม เช่น จุด,เส้น, ระนาบ รูปทรงและที่ว่าง ภาพและพื้นภาพ การสื่อความหมายและการรับรู้ ฯลฯ ฝึก ปฏิบัติการจัดองค์ประกอบ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่มีความหมาย คุณค่า และความงาม  
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ โดยเน้นเรื่องการเข้าชั้นเรียน
1.2.2 ในรายวิชาสอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม มอบหมายงานเดี่ยวและกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน
1.3.2 ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่มและงานเดี่ยวของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย  อภิปราย จำลองสถานการณ์และการถามตอบ
2.2.2 การทำงานกลุ่มและการนำเสนอ
2.2.3 การเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.5 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
2.3.6 ประเมินจากแผนการดำเนินงานโปรเจ็ค
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายตามรูปแบบกรณีศึกษา  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล
3.2.2 มอบหมายงานออกแบบ
3.2.3 นำเสนองาน อภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินจากผลงานออกแบบ การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ
3.3.2 การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1  สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม
แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย  เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม
4.2.2  มอบหมายงานกลุ่ม โดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก
4.2.3 อภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายเพื่อแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์ งานของผู้อื่น ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
4.3.1  ประเมินจากพฤติกรรมความเป็นผู้นำและผู้ตามและการแสดงออกในการนำเสนองาน
4.3.2  ประเมินการทำงานเป็นทีม ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.3  ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2.1   บรรยาย อภิปราย สาธิตในห้องเรียน
5.2.2   ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
5.2.3   นำเสนองานโดยใช้รูปแบบการสื่อสารและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข
5.3.2 การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
5.3.3   ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
6.1.2   มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 บรรยาย สาธิตตามแบบในห้องเรียน
6.2.2 ทำตามใบงานที่มอบหมายงาน
6.2.3 สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.3.1 ประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARCC404 ออกแบบเบื้องต้นทางสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม -ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่มและงานเดี่ยวของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 5
2 ความรู้ -การทดสอบย่อย -สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน -ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ -ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน -ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ -ประเมินจากแผนการดำเนินงานโปรเจ็ค 8 17 ตลอดภาคการศึกษา 50
3 ทักษะทางปัญญา -ประเมินจากผลงานออกแบบ การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ -การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน ตลอดภาคการศึกษา 10
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ -ประเมินจากพฤติกรรมความเป็นผู้นำและผู้ตามและการแสดงออกในการนำเสนองาน -ประเมินการทำงานเป็นทีม ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน -ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 14,15,16 14,15,16 10
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข -การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม -ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 10
6 ทักษะพิสัย ประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 20
หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 

Ching,FrancsD.K.,Architecture .Form .Space .Order.U.S.A.VanNostrand Company Inc,1979
ผุสดี ทิพทัส,หลักเบื้องต้นในการจัดองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์          มหาวิทยาลัย
     ทิพย์สุดา ปทุมานนท์,รศ. ดร. ปรากฎการณ์ศาสตร์ในสถาปัตยกรรม ,กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
     มหาวิทยาลัยม2536
 
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น องค์ประกอบศิลป์และสถาปัตยกรรม มายาคติ สัญศาสตร์  Sensory การรับรู้
J. Paul Getty Trust (2011) Elements of Art. Available at: https://www.getty.edu/education/teachers/building_lessons/elements_art.pdf
VOCABULARY ELEMENTS OF ART:
http://www.oberlin.edu/amam/asia/sculpture/documents/vocabulary.pdf
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกต
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์