การจัดนิทรรศการ

Exhibition

1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายในการจัดนิทรรศการ 
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในองค์ประกอบในการจัดนิทรรศการประเภทต่างๆ
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการออกแบบในการจัดนิทรรศการ
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในด้านเทคนิคและระบบในการจัดนิทรรศการ
5. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสไปดูตัวอย่างการจัดนิทรรศการในสถานที่จริง
6. เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์คอนเสปในการจัดนิทรรศการ จนนำไปสู่การจัดนิทรรศการในสถานที่จริงได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการจัดนิทรรศการและจิตวิทยาในการออกแบบ เพื่อนำข้อมูลจากการประเมินผลการสอนโดยนักศึกษามาปรับปรุงในการสอน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบและงานองค์ประกอบในการจัดนิทรรศการทั้งทางด้านเทคนิคการจัดการและทางด้านสื่อความหมายและสัญลักษณ์ การจัดแสดงนิทรรศการทางด้านส่งเสริมวิชาการและการศึกษาดูงานจากสถานที่จริง
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาหน้าชั้นเรียน
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ แจ้ง และติดประกาศในตารางสอนหรือประกาศ หน้าห้อง
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพิจารณา
1.2.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์พฤติกรรมของนักศึกษาภายในชั้นเรียน
1.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานภายในห้องร่วมกันเป็นกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียนการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1.  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2.  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3.  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 2.2.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์รูปแบบของการจัดนิทรรศการแบบต่างๆ
2.2.2 นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติตาม ผู้สอน
2.2.3 กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติตามหัวข้อที่ได้บรรยาย
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   วัดผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลามีการสอบวัดประเมินผล
3.1.1.  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบเข้าใจที่มาของแนวความคิดในการทำงานและปฏิบัติงานอย่างถูกขั้นตอน
3.1.2.  มีรวบรวม สรุปประเด็นปัญหาและการแก้ปัญหา
 3.2.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์งานที่ได้มอบหมายให้ตามหัวข้อที่กำหนด
3.2.2 นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และปฏิบัติงานตามขั้นตอน
3.2.3 นักศึกษาสรุปผลการปฏิบัติงานและข้อเสนอแนะ
3.3.1 การนำเสนอผลงานตามแนวความคิดอย่างมีระบบ
3.3.2 การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน
3.3.3 รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานพร้อมข้อเสนอแนะ
4.1.1   สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
 4.2.1 สอดแทรกประสบการณ์ของอาจารย์ระหว่างการเรียน การสอน
4.2.2 นักศึกษาเสนอโครงการปฏิบัติตามกลุ่มที่คัดเลือกกันเอง
4.2.3 อภิปรายโครงการปฏิบัติแต่ละกลุ่มร่วมกัน
4.2.4 นักศึกษาปฏิบัติงาน ตามหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละกลุ่ม
4.3.1 การอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน การประเมินตนเอง และเพื่อนในการปฏิบัติงาน
4.3.2 พฤติกรรมในชั้นเรียนและการทำกิจกรรมกลุ่ม
4.3.3 การตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิพลของงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษา ในการพูด ฟัง อ่านเขียน โดยการนำเสนอในชั้นเรียน และการทำรายงาน
5.1.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์งานและนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
5.2.2 นักศึกษาสืบค้นด้วยตนเองจาก อินเตอร์เน็ต E-Learning ในการหาข้อมูลสนับสนุนการทำงาน
5.2.3 นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1  การจัดทำรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 420234083 การจัดนิทรรศการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3 1.2.2 1.3.1 - การเข้าชั้นเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานตามกำหนด - การมีวินัยในการร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตลอดภาคการ ศึกษา 10%
2 2.1.1,2.1.2,2.1.3 2.2.1,2.2.3 2.3.1,2.3.2 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - วิธีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน - วิธีการสรุปและนำเสนอรายงาน 9 18 ตลอดภาคกลางศึกษา 20% 20%
3 3.1.1 3.1.2 - การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ - การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน - รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานพร้อมข้อเสนอแนะ 9,10,11, 12,13,14 20%
4 4.1.1 4.1.2 4.1.3 4.2.2 4.2.4 - การอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - พฤติกรรมในชั้นเรียนและการทำกิจกรรมกลุ่ม - การตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิผลของงาน 2,3,4, 14,15 ตลอดภาคกลางศึกษา 20%
5 5.2.1 5.2.3 - การมีส่วนร่วมและวิธีการอภิปราย - การจัดทำรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5,6,7 10%
ผศ. กิติ  สินธุเสก. 2544. การออกแบบภายในขั้นพื้นฐาน: หลักการพิจารณาเบื้องต้น
วัฒนะ  จูฑะวิภต. ศิลปะการจัดนิทรรศการ, กรุงเทพมหานคร, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542
ไม่มี
อุทยานการเรียนรู้ ( TK. PARK)  http : //www.tkpark.or.th
ศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบ ( TCDC ) http : //www.tcdc.or.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3.ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   การออกไปศึกษาดูงานนอกสถานที่
3.2   การบูรณาการการเรียนรู้ร่วมกับการทำงาน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการ ประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ