จิตวิทยาสำหรับครู

Psychology for Teacher

1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจิตวิทยาและความสำคัญของจิตวิทยากับวิชาชีพครู   2.  เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ พัฒนาการมนุษย์และการเรียนรู้ของผู้เรียน   3. เข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้เรียนและการส่งเสริมกระบวนการเรียนการสอนตามศักยภาพของผู้เรียน   4. นำความรู้ทางจิตวิทยาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน การสร้างแรงจูงใจ การพัฒนาบุคลิกภาพผู้เรียน และแก้ปัญหาการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ   5. นำความรู้ทางจิตวิทยาการแนะแนวและใหค้าปรึกษา เพื่อจัดการเรียนรู้และช่วยเหลือผู้เรียน   6.  มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบวิชาชีพครู
พัฒนาสื่อการเรียนการสอน
ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับจิตวิทยาพืันฐานและจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์ จิตวิทยาการเรียนรู้และจิตวิทยาการศึกษา ความแตกต่างระหวางบุคคล การเรียนรู้ การถ่ายโยงการเรียนรู้ เชาวน์ ปัญญา การจูงใจผู้เรียน บุคลิกภาพและการปรับตัว ความฉลาดทางอารมณ์ จิตวิทยาการแนะแนวและให้คำ ปรึกษา ให้คำแนะนำช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพและความถนัดรายบุคคล ใช้จิตวิทยาเพื่อความเข้าใจและสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ
1. อาจารย์ประจำรายวิชาให้นักศึกษาติดต่อโดยตรงและติดต่อสื่อสารผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์
2. อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการและความเหมาะสม
1. ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. สามารถแก้ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรมและวิชาชีพโดยคำนึงถึง สิทธิมนุษยชน ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ
3. ความรับผิดชอบและซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่ ทั้งในด้านวิชาการ วิชาชีพ ชุมชน และสังคม
4. เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งในด้านการดำรงตนและการปฏิบัติงาน
อภิปรายกลุ่ม การเรียนรู้จากเรื่องเล่า Concept Mapping
วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่นเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
ประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น กิจกรรมเรื่องเล่า Concept Mapping
ประเมินจากการอ้างอิงอย่างเหมาะสมและถูกต้องของรายงาน
ประเมินร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาการศึกษา   2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของจิตวิทยาการศึกษาและการนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการศึกษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม   3. มีทักษะในการแสวงหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท   4.  มีทักษะในการวางแผนและจัดการเรียนการสอน
บรรยายร่วมกบอภิปรายกับการทำงานกลุ่ม ตั้งคำถาม วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น กิจกรรมการเรียนรู้จากเรื่องเล่า และ Concept Mapping
ทดสอบย่อย
ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
การตอบคำถาม
รายงาน
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์ / Concept Mapping
1. ตระหนักรู้ในศักยภาพของตน เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถที่นำไปสู่การแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
2. สามารถสืบค้น ทำความเข้าใจ วิเคราะห์ และประเมินขอ้มูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ๆจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และนำขอ้มูลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ
3. สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มีคุณภาพในการทำงาน
4. สามารถพัฒนาวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสังคมที่ เปลี่ยนไปโดยคำนึงถึงความรู้และผลกระทบจากการตัดสินใจ
บรรยายร่วมกบอภิปราย ตั้งคำถาม การทำงานกลุ่ม ตั้งคำถาม วิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น
มอบหมายงาน กิจกรรมการเรียนรู้จากเรื่องเล่า และ Concept Mapping
การตอบคำถาม
รายงาน
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. มีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2. สามารถทำงานเป็นทีมในบทบาทผู้นำ และสมาชิกกลุ่มในบริบทหรือสถานการณ์ที่ แตกต่างกัน
3. สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี ในสถานการณ์ที่ หลากหลายและสถานการณ์ เฉพาะหน้า
4. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง องค์การ และสังคมอย่างต่อเนื่อง
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การทำงานกลุ่ม นำเสนอผลงาน
การตอบคำถาม
รายงาน
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. สามารถสื่อสารทั้งการฟัง พูด เขียน ทำรายงานและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการิเคราะห์ แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับจิตวิทยา
3 . สามารถสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเพื่อทำรายงาน เตรียมและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
บรรยายร่วมกับ อภิปราย การวิเคราะห์ตนเองและผู้อื่น มอบหมายงาน
กิจกรรมการเรียนรู้จากเรื่องเล่า และ Concept Mapping
การถอดบทเรียน การทำงานกลุ่ม มอบหมายงาน การนำเสนอ
รายงาน ตอบคำถาม
การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์ / Concept Mapping
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.2 2.1- 4.4 5.1-9.5 การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 9 17 10% 25% 25%
2 1) 1.2, 2.1, 2.2-3.2, 4.1-5.3, 6.1, 9.1 9.3 6.2 2) 1.1,6.2 3) 1.1-9.5 1 การวิเคราะห์และการนำเสนอ การมีส่วนร่วมอภิปราย/การตอบคำถาม กิจกรรมเรื่องเล่า 2 การทำรายงาน/งานกลุ่มและผลงาน และการ นำเสนอ 3 .การทำ Concept Mapping ตลอดภาคการศึกษา 1 และ 2 = 20% 3 = 10%
3 1.1–9.5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
อรอนงค์ นิยมธรรม.  (2560).  จิตวิทยาสำหรับครู.    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก. 
อรอนงค์ นิยมธรรม.  (2549).   จิตวิทยาการศึกษา.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.  
กรมสุขภาพจิต. (2547). รายงานวิจัยพัฒนาแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์เด็ก. กรุงเทพฯ:
        กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
จรรจา สุวรรณทัต และดวงกมล เวชบรรยารัตน์. (2535) . “ บุคลิกภาพและลักษณะนิสัย,” ใน
       เอกสารการสอนชดุ วิชาจิตวิทยาทั่วไป หน่วยที่ 1 - 7. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย
       ธรรมาธิราช,
จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2554). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย
       ธรรมศาสตร์.
ติน  ปรัชญพฤทธิ์. (2540). “หน่วยที่ 7 : บคุลิกภาพและการจูงใจ” เอกสารชุดวิชาพฤติกรรมมนษุย์
       ในองค์การ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครัง้ ที่ 15. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
จมุพล หนิมพานิช. (2545). “ การจูงใจ” ใน เอกสารชุดวิชาองค์การและการจัดการ หน่วยที่ 9 – 15.
         พิมพ์ครั้ง ที่ 2. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
----------. (2539). “หน่วยที่ 4 ปัจจัยทางชีวภาพ จิตวิทยา สังคมวิทยาและวัฒนธรรมที่กำหนด
         พฤติกรรมมนษุย์” เอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมมนุษย์. นนทบุรี: โรงพิมพ์มส.ธ..
ถวิล ธาราโรจน์ และศรัณย์ ดาริสุข . (2540). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.
ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้ง้ที่ 10. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลง
          กรณ์มหาวิทยาลัย.
ปรียาพร วงศ์อุนุตรโรจน์. (2546). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: สื่อเสริมกรุงเทพ.
พรรณี ชูชยันเจนจิต. (2545). จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ: เมธีทิปส์.
นันทนา วงษ์อินทร์. (2543). การพัฒนาอารมณ์. ใน รวมบทความทางวิชาการ EQ. บรรณาธิการ
           โดย อัจฉรา สุขารมณ์, วิลาสลักษณ์ ชววัลลี และอรพินทร์ ชูชม. หน้า 136. กรุงเทพฯ: เด
            สก์ท็อป.
นชลี อุปภัย . (2555). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วีรวัฒน์ ปันนิตามัย. (2551). เชาว์อารมณ์ (EQ) ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จของชีวิต. พิมพ์ครั้ง
             ที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2547). ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ. พิมพ์ครัง้ ที่ 11. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พิมพ์
          ดีกรุงเทพฯ.
สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2556). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. พิมพ์ครัง้ ที่ 8 กรุงเทพฯ:
           สำนักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .
สิริอร วิชชาวุธ. (2554). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์.
สุชา จันทน์เอม. (2535). จิตวิทยาทั่วไป ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม. พิมพ์ครัง้ที่ 7. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนา
          พานิช.
สุรางค์  โค้วตระกูล. (2559). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครัง้ที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง
            จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรทัยั ชื่นมนุษย์ และคณะ. (2535). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
             มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Asch, M.  (2005). An Introduction to Educational Psychology. New Delhi: Sarup & Sons.
Bernstein , Douglass A. and others. (1994). Psychology. 3rd ed., Geneva: Houghton
         Miffin Company.
Bootzin , Richard R. and others. (1986). Psychology today : An introduction. 6th ed., NY:
         McGraw - Hill Publishing Company.
Bourne , Lyle E. & Ekstrand , Bruce R. (1982). Psychology. 4th ed., NY: CBS college
Bower , Gardon H. and others. (1987). Principle of Psychology today. NY: Random
          House , Inc.
Carlson , Meil R. (1990). Psychology: The science of behavior. 3rd ed., Boston : Allyn
         and Bacon , Inc.
Coon , Dennis. (1994). Essentials of Psychology: Exploration and Application. 6th ed., NY :
         West Publishing Company.
Cooper & Sawaf. (1997). Executive EQ Emotional Intelligence in Business. Tanner Ltd.
Gladding, Samuel T. (2014). Counseling : a comprehensive profession. Essex :
        Pearson.
Goleman, D. (1995). Emotional Intelligence; Why it can Matter More than IQ. New York:
             Bantam Books.
__________(1998). Working with emotional Intelligence. New York: Bantam Book.
Herzbreg, Frederick. (1959). The Motivation to Work. New York: John Willey and Sons
           Inc.
Hittleman, D. & Simon, A. (2005). Interpreting educational research. 4th ed. Englewood
           Cliffs, NJ:Prentice-Hall.
Moreno, Roxana. (2010). Educational psychology. Hoboken, N.J. : Wiley.
Nelson-Jones, Richard. (2013). Introduction to counselling skills : texts and activities. Los
            Angeles, Calif.
Rubie-Davies, Christine M. (2011). Educational psychology : concepts, research and
            Challenges. London : Routledge.
Salovey, P; & Mater, J.D. (1997). Emotional Intelligence. Imagination, Cognition, and
             Personality. 9: 185 - 211.
Seifert , Kelvin & Sutton, Rosemary. (2009). Educational Psychology. 2nded. Zurich:
             Global Text.
Steer, R.W. & Porter, L. W. (1979). Motivation and Work Behavior. 4th ed. New York:
            McGraw-Hill.
http://www.riclib.nrct.go.th/
http://www.library.tu.ac.th/
http://www.lib.swu.ac.th/
http://www.hs.chula.ac.th/
 
นักศึกษาประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชา นักศึกษาเป็นผู้สะท้อนคิด (Reflective Journal)
การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ผลงานและการนำเสนอ  ผลการทดสอบ
ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาโดยใช้ Evidence Based ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ใช้หลักการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมการเรียน ผลงาน และผลการทดสอบ ร่วมกับให้นักศึกษาตรวจสอบผลการเรียนรู้ของตนเอง และ ประเมินตนเอง
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3-5 ปี   2.สัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกเพื่อหาแนวทางในการวางแผนปรับปรุงรายวิชา