แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2

Calculus and Analytic Geometry 2

เข้าใจการอินทิเกรต เข้าใจเทคนิคการอินทิเกรตวิธีต่างๆ เข้าใจภาคตัดกรวยและระบบพิกัดเชิงขั้ว เข้าใจอินทิกรัลจำกัดเขตและบทประยุกต์ เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาชีพและศึกษาต่อระดับสูง ปลูกฝังให้เป็นคนมีระเบียบ มีเหตุผล และรอบคอบ
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้คณิตศาสตร์เพียงพอที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับสูง และฝึกให้เป็นคนมีระเบียบ มีเหตุผลและรอบคอบ
ศึกษาเกี่ยวกับ การอินทิเกรต เทคนิคการอินทิเกรต ภาคตัดกรวย ระบบพิกัดเชิงขั้ว  อินทิกรัลจำกัดเขตและการประยุกต์
The Indefinite Integral, Principles of Integral Evaluation; Conic Sections; Polar Coordinate Systems; The Definite Integral and Applications
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
    3.1 วันอังคาร พฤหัสบดี เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง ศท.304 โทร 2810
    3.2  e-mail : krattanakarn@hotmail.com , rada_m_1@hotmail.com
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
    1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-  การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
-  การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
-  งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  การสังเกต
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
-  การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
-  การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
-  การสอนแบบบรรยาย 
-  งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  การสังเกต
-  ข้อสอบอัตนัย
-  ข้อสอบปรนัย
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-  การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
-  การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
-  การสอนแบบบรรยาย 
-  งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  การสังเกต
-  ข้อสอบอัตนัย
-  ข้อสอบปรนัย
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
    4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 -  การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
-  การสังเกต
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-  การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
-  ใช้  Power point  
-  มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
-  การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
-  การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-  งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
-  การสัมภาษณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.คุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4
1 13011133 แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 4.1 2.1, 3.1, 3.2 2.1, 3.1, 3.2 4.1, 5.2 2.1, 3.1, 3.2 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งรายงานตรงเวลา - การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - การทดสอบย่อย 3 ครั้ง - การสอบกลางภาค - การนำเสนองาน/การรายงาน - การสอบปลายภาค - ทุกสัปดาห์ - ทุกสัปดาห์ - 4,7,13 - 8 - 14 - 17 การเข้าชั้นเรียน 10% สอบทดสอบย่อย 30 % สอบกลางภาค 25 % งาน 10% สอบปลายภาค 25 %
เอกสารประกอบการเรียนวิชา Calculus and Analytic Geometry 2 (แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  ภาคพายัพ  เชียงใหม่  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร  แผนกวิทยาศาสตร์  สาขาคณิตศาสตร์
    1. วรรณา ไชยวิโน. แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์2. กรุงเทพฯ:ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, มปป.
       ศรีบุตร แววเจริญ และชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง . อินทิกรัลและการประยุกต์ . พิมพ์ครั้งที่ 2 ,
       กรุงเทพฯ :บริษัทวงตะวันจำกัด ,2542
     2. วัลลภ เฉลิมสุวิวัฒนาการ . ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์แคลคูลัส . กรุงเทพฯ : แมคกรอ ฮิล อินเตอร์ เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ไพร์ส อิงค์ , 2540
- โปรแกรมช่วยเขียนกราฟ The Geometer 's Sketchpad
- สื่อการสอนเรื่องพื้นที่ใต้กราฟจาก

http://demonstrations.wolfram.com http://xanadu.math.utah.edu/java/ApproxArea.html

- สื่อที่แนะน าให้นักศึกษาใช้ฝึกหัดการหาค่าอินทิกรัลไม่จ ากัดเขต
http://emathlab.com/Calculus/indefiniteIntegrals.php
ทรรศนพรรณ พิทยาพละ . e-Learning เรื่องภาคตัดกรวย . [ระบบออนไลน์] . แหล่งที่มา : http://www.e-learning.sg.or.th/act3/index.html
ธีระวัฒน์ นาคะบุตร . e-Learning เรื่องอินทิกรัลจำกัดเขต . [ระบบออนไลน์] . แหล่งที่มา http://home.npru.ac.th/teerawat/Cal2_Web/chap41.htm
1.1  การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
1.2  แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
  2.1 การสังเกตการณ์ในการสอน
  2.2 ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
  2.3 การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
     3.1  แก้ไขข้อบกพร่องจากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
     3.2  การทำวิจัยในชั้นเรียน
 
     4.1 การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
     4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาเช่นตรวจสอบข้อสอบ
5.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
5.3 นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา