การออกแบบโรงงานอาหารและแบบจำลองกระบวนการ

Food Plant Design and Process Modeling

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการออกแบบโรงงานอาหาร การเลือกทําเลที่ตั้ง และการวางผังโรงงานให้สอดรับกับกระบวนการผลิต และสิ่งสนับสนุนการผลิตตามหลักเกณฑ์การออกแบบโรงงานอาหาร
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและกิจกรรมให้เหมาะสมกับพื้นฐานของผู้เรียน และเพื่อเพิ่มเติมสื่อการเรียนการสอนให้เข้ากับตำราเรียน ที่มีตัวอย่างที่ทันสมัยและน่าสนใจมากขึ้น
เทคนิคการออกแบบและการวางผังโรงงาน ที่ตั้งโรงงาน การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ ปัจจัยและสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผังใหม่ การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาและการนำเสนอผังโดยพิจารณาถึงคนงาน อุปกรณ์ เครื่องจักร อุปกรณ์สนับสนุนการผลิต ระบบการเคลื่อนย้ายวุสดุการเก็บตลอดจนสภาพแวดล้อม
          อาจารย์ผู้สอน แจ้งเวลาให้นักศึกษามาปรึกษานอกตารางเรียนในครั้งแรกของการเรียนการสอน       โดยจัดสรรเวลาให้อย่างน้อย 1 คาบต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้            อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชา       ต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่าง ๆ ดังนี้

มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม

เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1  กําหนดใหมีวัฒนธรรมองคกรเพื่อเปนการปลูกฝงใหนักศึกษามีระเบียบวินัย
          1.2.2  เนนการเขาชั้นเรียนใหตรงเวลา ตลอดจนการแตงกายที่เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
          1.2.3  สอดแทรกและสงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และสงเสริมใหนักศึกษามีจิตสาธารณะ    
          1.2.4  สนับสนุนใหนักศึกษาเขารวมในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพแกสังคม ปลูกฝ งจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ยกยองและเชิดชูนักศึกษาที่ทําความดีและเสียสละ
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในดานตาง ๆ ไดแก
1.3.1  การตรงเวลาของนักศึกษาในการเขาชั้นเรียน การสงงานตามกํ าหนดระยะเวลา
ที่มอบหมาย และการเขารวมกิจกรรม
1.3.2  ความมีวินัยและความใสใจของนักศึกษาในการเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
          1.3.3  ความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย
          1.3.4 ความซื่อสัตยสุจริตในการทํางานที่ไดรับมอบหมายและการสอบ
2.1.1 มีความรูและความเขาใจทั้งดานทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ได้แก่

มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับหลักการออกแบบโรงงานอาหาร การเลือกทําเลที่ตั้ง   มีความรู้เรื่องการวางผังโรงงานอย่างมีระบบ การออกแบบและการวางแผนผังกระบวนการผลิตต่างๆ  รวมทั้งเครื่องมือ ให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการคํานวณต้นทุนและการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน

2.1.2 สามารถติดตามความกาวหนาทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรูทางวิชาชีพกับความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ (Active Learning) ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยให้โจทย์การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหารเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม ลงมือปฏิบัติในชั้นเรียน การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบ ศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต อภิปรายร่วมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น  ใช้การสอนโดยการฝึกปฏิบัติจริงในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับนักศึกษา โดยให้โครงงานขนาดเล็ก (mini project) เพื่อเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ตลอดภาคการศึกษา
2.3.1   ประเมินจากการนำเสนอความก้าวหน้าโครงการในแต่ละสัปดาห์
2.3.2   พิจารณาจากงานที่มอบหมาย รายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์
นักศึกษาสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพโดยพึ่งตนเองไดเมื่อจบการศึกษา ดังนั้น นักศึกษาตองไดรับการพัฒนาทักษะทางปญญา พรอมกับคุณธรรม และจริยธรรม โดยกระบวนการเรียน การสอนตองเนนใหนักศึกษารูจักคิดหาเหตุผล เขาใจที่มาและสาเหตุของปญหา แนวคิดและวิธีการ แกปญหาดวยตนเอง นักศึกษาที่ผานกระบวนการเรียนการสอนดวยวิธีดังกลาวตองมีคุณสมบัติ ดังนี้
          3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกตความรูทั้งทางดานวิชาการหรือวิชาชีพ
          3.1.2 มีทักษะในการนําความรูมาคิดและใชอยางเปนระบบ
ใชการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอน กับการทํางาน (Work-Integrated Learning) มุงเนนใหนักศึกษารูจักวิเคราะหองคประกอบของ สถานการณตาง ๆโดยใชบทบาทสมมติสถานการณจําลอง และกรณีศึกษา เพื่อเปนตัวอยางใหนักศึกษา ไดฝกวิเคราะหแนวทางแกไขใหถูกตอง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ไดแก
          3.3.1 บทบาทสมมติหรือสถานการณจําลอง
          3.3.2 การเลือกใชวิธีการเพื่อแกใขปญหาในบริบทตางๆ
          3.3.3 การนําเสนอรายงานในชั้นเรียน
          3.3.4 การทดสอบโดยใชแบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1.1  มีมนุษยสัมพันธและมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม
4.1.3  สามารถทํางานเปนทีมและแกไขขอขัดแยงไดอยางเหมาะสม
          4.1.4  สามารถใชความรูในศาสตรมาชวยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
           การวัดและประเมินผลทําไดโดยการสังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทํากิจกรรมกลุม ทั้งในและนอกชั้นเรียน และผลสะทอนกลับจากการฝกประสบการณตาง ๆ
เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทำงานทั้งกลุ่มและเดี่ยว ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดโจทย์กำหนดบทบาทในการทำงาน และให้นำเสนอผลงาน รวมทั้งให้นักศึกษามีบทบาทในการให้ความเห็นกับผลงานของคนอื่น หรือกลุ่มอื่น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ไดแก
4.3.1  พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนําเสนอรายงานกลุมในชั้นเรียน
4.3.2  พฤติกรรมที่แสดงออกในการรวมกิจกรรมตาง ๆ
5.1.1  เลือกใชวิธีการและเครื่องมือสื่อสารไดเหมาะสม
5.1.2  สืบคน ศึกษา วิเคราะหและประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อแกไขปญหาอยางเหมาะสม
          5.1.3  ใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ในการสื่อสารไดอยางถูกตองตามกาลเทศะ และ สอดคลองกับวัฒนธรรมสากล
          การวัดและประเมินผลอาจจัดทําในระหวางการสอนโดยการจัดกิจกรรมใหนักศึกษาไดใช เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาคนควาขอมูลเพื่อนํามาเรียบเรียง นําเสนอและอภิปราย แสดงความ คิดเห็นในกลุม หรือจัดกิจกรรมใหนักศึกษาใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร หรือนําเสนอผลงานตางๆ
ดําเนินการสอนดวยกิจกรรมที่นักศึกษาตองติดตอสื่อสาร คนควาหาขอมูล และนําเสนอผลจาก การคนควาโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหเกิดการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังน
5.2.1  ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร
5.2.2  ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการคนควาหาขอมูล
5.2.3 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการนําเสนอผลงาน
5.2.4 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของ สังคมแตละกลุม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
          5.3.1 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอสื่อสาร
          5.3.2 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาคนควาหาขอมูล
          5.3.3 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอผลงาน
          5.3.4 จรรยามารยาทในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสมกับสถานการณและ วัฒนธรรมสากล
นักศึกษามีความสามารถพัฒนาตนเองไดและปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพของตนเอง โดยนักศึกษา ตองมีคุณสมบัติตาง ๆ จากทักษะการปฏิบัติ ดังนี้
         6.1.1 มีพัฒนาการทางดานรางกาย
         6.1.2 มีพัฒนาการทางดานระบบตาง ๆ ของรางกาย
         6.1.3 มีพัฒนาการทางดานบุคลิกภาพ
ใชการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู ทักษะ การปฏิบัติในรายวิชาตาง ๆ ใหนักศึกษาไดปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ
           การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้       
           6.3.1 จากประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติ ความถูกตอง
           6.3.2 การแกปญหาเฉพาะหนาและความสามารถในการตัดสินใจ
           6.3.3 พฤติกรรมที่แสดงออกในการเขารวมกิจกรรมตางๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3
1 ENGFI109 การออกแบบโรงงานอาหารและแบบจำลองกระบวนการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ,2.1, 3.1, 4.1, 5.1 Mid-term exam Final exam 9 18 20% 20%
2 2.1, 3.1 Presentation and Report Throughout this semester 50%
3 1.1 Class attendance Group participation and discussion in class Throughout this semester 10%
Lopez-Gomez, A., G. V. Barbosa-Canovas.  2005.  Food Plant Design.  CRC Press.
Fellows, P. 1988. Food Processing Technology: Principles and Practice. Ellis Horwood, Singapore.
ธีรวัลย์  ชาญฤทธิเสน และ วันเพ็ญ  จิตรเจริญ. 2536. การควบคุมคุณภาพอุตสาหกรรมอาหาร. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ลำปาง.136 หน้า.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
2.2   ผลการทำกิจกรรม/งานกลุ่ม
2.3   ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
2.4   รายงานหน้าชั้นเรียนและชิ้นงานที่มอบหมาย
ยังไม่มีการปรับปรุงการสอนเนื่องจากเป็นปีแรกของการเรียน
4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  ประเมินรายวิชาทุกปีตามแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา