ทฤษฎีเครื่องยนต์

Theory of Engines

1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านเครื่องยนต์
2.เพื่อให้เข้าใจในเรื่องชิ้นส่วนของเครื่องยนต์
3.เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับระบบเชื้อเพลิง
4.เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับระบบจุดระเบิด
5.เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับระบบสตาร์ท
6.เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับระบบหล่อลื่น
7.เพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับระบบหล่อเย็น
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ระบบเชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิด ระบบสตาร์ท ระบบหล่อลื่น และระบบหล่อเย็น
ศึกษาเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ ชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ ระบบเชื้อเพลิง ระบบจุดระเบิด ระบบสตาร์ท ระบบหล่อลื่น และระบบหล่อเย็น
Study of engine operation, engine parts, fuel system, ignition, starter system, lubrication system, and cooling system.
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชาต้องส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ดังนี้   
1. แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 
2. สามารถจัดการและคิดแก้ปญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู 
3. แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี 
4. เคารพสิทธิและรับพิงความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดี้ศรี,ของความ เป็นมนุษย์
 
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกผิงให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯนอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกผิงจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดซูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในด้านต่างๆได้แก่ (1) การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม (2) ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร (3) ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (4) ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระของรายวิชาที่ศึกษา ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นองค์ความรู้ที่จะพัฒนาความสามารถและทักษะชองนักศึกษา ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมดังนี้ 
1. มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกขึ้ง และเป็นระบบ 
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในลาชาวิชาชีพเฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญชองงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ 
3. สามารถน่าหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning) โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวซาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
ประเมินจากผลลัมฤทธทางการเรียนและการปฏิบัติชองนักศึกษา โดยใช้การวัดผล ดังนี้ (1) การทดสอบย่อย (2) การสอบกลางภาคการศึกษาและปลายภาคการศึกษา (3) รายงานที่นักศึกษาจัดทำ (4) งานที่ได้มอบหมาย (5) การน่าเสนอรายงานในชั้นเรียน (6) แฟ้มสะสมผลงาน
นักศึกษาต้องได้รับการพัฒนาทักษะทางปัญญาควบคู่กับคุณธรรมและจริยธรรมและความรู้ทางด้านวิชาชีพ โดยกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักคิดหาเหตุผลเข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา แนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง ดังนั้นมาตรธานทักษะทางปัญญาต้องครอบคลุมดังน 
1.   มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม 
2.   มีทักษะในการเป็นผู้นัาความรู้เพื่อการสืบด้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และสรุปประเด็นชองสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝืกวิเคราะห์แนวทางแกไขให้ถูกต้อง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เซ่น (1) บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง (2) การเลือกใช้วิธีการเพื่อแกใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ (3) การน่าเสนอรายงานในขั้นเรียน (4) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับคนที่ไม่รู้จักมาก่อนการมี ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆ เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนต้องสอดแทรกวิธีการที่เกี่ยวข้องให้นักศึกษาระหว่างที่สอนเกี่ยวกับคุณสมบัติต่างๆ ดังนี้ 
1.  แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ด็ สามารถรับรู้ความรู้สึกชองผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 
2.  แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้น่าและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรคัในการแก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม 
3.  สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีมช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อชัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 
4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการน่าความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม การทำกิจกรรมกลุ่มทั้งในและนอกขั้นเรียน และผลสะท้อนกลับจากการ'ฝืกประสบการณ์ต่าง ๆ
ดำเนินการสอนโดยการกำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือด้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความสามารถในการรับผิดขอบดังนี้ (1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี (2) มีความรับผิดขอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย (3) สามารถปรับตัวเช้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี (4) มีมบุษยสัมพันธ์ที่ดี (5) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(6) มีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย และวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ฃนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เซ่น (1) พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการน่าเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน (2) พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
ในปิจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญในชีวิตประจำวันและ การประกอบอาชีพ นักศึกษาต้องมีความรู้และมีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์เซิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเอง ดังนั้นอาจารย์ผู้สอน ต้องผึเกให้นักศึกษามีคุณสมบัติคังนั้ 
1.  มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเซิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเชียน อันมีผลทำให้สามารถเช้าใจ องค์ความรู้หรือประเด็นปิญหาได้อย่างรวดเร็ว 
2.  สามารถใช้ดุลยพินิจในการลืบด้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแกิไฃป็ญหาอย่างเหมาะสม 
3.  สามารถสนทนา เชียน และน่าเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรม Active Learming ที่นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสารด้นคว้าหาข้อมูล และน่าเสนอผลจากการด้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เซิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้ (1) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร (2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดันคว้าหาข้อมูล (3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการน่าเสนอผลงาน
(4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับฃนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ (1) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร (2) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาด้นคว้าหาข้อมูล (3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน (4) จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
การทำงานในสถานศึกษา สถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะการปฏิบัติ การวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแกไข รวมถึงการมีทักษะการจัดการเรืยนรู้ที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรืยนที่หลากหลายตามสภาพจริง ดังนั้นในการเรียนการสอนจึงต้องมุ่งเน้นการสร้างทักษะการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนรู้ดังต่อไปนื้ 
1.  แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์ 
2.  แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพชองกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมีนวัตกรรม
 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยดังข้อต่อไปนี้
2.6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
2.6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
2.6.2.3 สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
2.6.2.4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
2.6.2.5 สนับสนุนการทำโครงงาน
2.6.2.6 การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
2.6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
                2.6.3.2  มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
                2.6.3.3  มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
                2.6.3.4  มีการประเมินโครงงานนักศึกษา
                2.6.3.5  มีการประเมินนักศึกษาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
1 TEDME905 ทฤษฎีเครื่องยนต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4