ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

1.1 เข้าใจวิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต
1.2 สามารถรู้และเข้าใจตนเอง
1.3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัวให้เข้ากับสังคม
1.4 สามารถวิเคราะห์พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่
1.5 สามารถออกแบบแนวคิดการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต กระบวนการพัฒนาปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการแสวงหาความสุขอย่างยั่งยืน การฝึกสมอง การจัดการอารมณ์ การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง บุคลิกภาพและการปรับตัว การต่อต้านการทุจริต พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับกรณีศึกษา
ให้นักศึกษาติดต่อโดยตรง ติดต่อผ่านทาง e-mail  หรือสื่อออนไลน์เพื่อให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน รวมทั้งสื่อสาร-นัดหมายงานต่าง ๆ  โดยเฉลี่ย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือทั้งนี้หากนักศึกษาต้องการทราบเวลาในการเข้าพบนอกเหนือจากเวลาในการสอนแล้ว สามารถตรวจเช็คตารางเวลาที่อาจารย์ผู้สอนว่างได้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ผู้สอน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
    1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
   1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
    2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา
2. บทบาทสมมติ
3. เพื่อนคู่คิด
4. อภิปราย
5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงการ/โครงงาน
6. การสอบ
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
    3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กรณีศึกษา
2. บทบาทสมมติ
3. เพื่อนคู่คิด
4. อภิปราย
5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
  5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. บทบาทสมมติ
2. เพื่อนคู่คิด
3. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 GEBIN103 ศิลปะการใช้ชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-17 10%
2 2.1, 3.2, 4.1 ผลสัมฤทธิ์จากงานที่ส่ง การสังเกต การทำงานกลุ่ม 1-17 45%
3 2.1, 3.2 การร่วมอภิปราย ความเข้าใจ ทุกสัปดาห์ 10%
4 1.3, 2.1 สอบกลางภาค/ปลายภาค 9,17 30%
5 1.3, 2.1, 3.2, 4.1, 5.1 การจัดทำโครงการ , การรายงาน 16 25%
เอกสารประกอบการเรียนการสอน, สไลด์เนื้อหารายวิชา
กัลยา  สุวรรณแสง. (2544). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น.
    เติมศักดิ์  คทวณิช. (2546). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
พงศ์มนัส  บุศยประทีป.  (2555).  รู้ใจคนด้วยจิตวิทยาไม่ยาก. กรุงเทพฯ: ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จำกัด.
หรือเวปไซต์ที่เกี่ยวข้อง เช่น
    - เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลทางจิตวิทยาต่างๆ เช่น  กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย
    - www.psychologytoday.com., www.socialpsychology.org.
    -บทความสุขภาพน่ารู้ “ศิลปะการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข” หมอชาวบ้าน.  2552. เข้าถึงเมื่อ 18 พฤษภาคม 2560. จาก https://www.doctor.or.th/article/detail/5843.  ออนไลน์.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้โดยนักศึกษา ให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาโดยวิธีดังนี้
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  การสะท้อนคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา 
2.1 การแลกเปลี่ยนสังเกตการสอน
2.2 ระดับผลการเรียนของนักศึกษา
 2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การปรับปรุงการสอนกระทำทุกภาคการศึกษา โดยพิจารณาจากผลการประเมินรายวิชาโดยผู้เรียนและผลการประเมินการสอนรวมทั้งปัจจัยอื่นๆ รายวิชาปรับปรุงการสอนโดยพิจารณาจากปัจจัยดังนี้
    3.1 ผลประเมินรายวิชาจากผู้เรียน
    3.2 ผลประเมินการสอนจากการสอบถามความสนใจในห้องเรียน
    3.3 ประเด็นปัจจุบันหรือหัวข้อที่เลือกตามความสนใจ
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาศัยปัจจัยภายในและภายนอก กระบวนการเรียนการสอน ทวนสอบทั้งกระบวนการ ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ ได้ดำเนินการดังนี้
   4.1 ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน ได้แก่ การเข้าเรียนและการสังเกตพฤติกรรมโดยผู้สอน
   4.2 การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้วโดยผู้สอนที่รับผิดชอบรายวิชา
การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาดำเนินการทุกภาคการศึกษา โดยประมวลจากกระบวนการและผลลัพธ์ ดังนี้
   5.1 การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอนดำเนินการทุกภาคการศึกษา โดยเฉพาะการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
   5.2 การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจและการประกันคุณภาพของสาขาฯ คณะฯ และมหาวิทยาลัย