เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช

Postharvest Technology of Plant

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 อธิบายความสำคัญและขอบเขตของวิชาเทคโนโลยีกลีงการเก็บเกี่ยวพืช
1.2 อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมีที่สำคัญหลังการเก็บเกี่ยวพืช
1.3 ระบุปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษา
1.4 นำความรู้และทักษะเกี่ยวกับดัชนีและวิธีการเก็บเกี่ยวไปใช้ในการทำงานจริงได้
1.5 อธิบายการเก็บรักษาด้วยวิธีการต่างๆ
1.6 บอกวิธีการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิต
1.7 เห็นคุณค่าของเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
ปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและขอบเขตของเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและชีวเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษา ดัชนีและวิธีการเก็บเกี่ยว การควบคุมศัตรูพืช การปฏิบัติการหลังการเก็บเกี่ยว เก็บรักษาด้วยวิธีการต่างๆ ตลอดจนวิธีการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิต
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
3.1 วัน พุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์
3.2 โทรศัพท์ 086-1813121ในเวลาราชการ
3.3 e-mail: pikul.rmutl@gmail.com ทุกวัน
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
- ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา
- ร้ยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ
- มีวินัยต่อการเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลาที่กำหนด
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนแบบ e-Learning เป็นต้น
- มอบหมายงานให้นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ทดสอบโดยข้อเขียนในการการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- การประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความ เป็นไปได้
- ฝึกให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว โดยให้ไปค้นคว้าจากเอกสารต่าง ๆ รวมการค้นคว้าจากฐานข้อมูล
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
- ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในการเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
š 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜ 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- ให้นักศึกษาแบ่งงานและละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจนกำหนดความรับผิดชอบของแต่
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ
 
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜ 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
  - มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษา ที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
- ในการค้นคว้านั้น ส่วนหนึ่ง นักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง
- กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ Power Point
 
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ
- ประเมินจากการใช้สื่อและภาษาที่ใช้ในการเขียนรายงานและการนำเสนอในชั้นเรียน
- ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมและจริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและสักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจทั้งด้านบททฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรอบรู้ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษากับศาสตร์ความรู้อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมีมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมแลสามารภแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 21011450 เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5 %
2 2.1., 2.2, .2.3 - การสอบย่อย สอบปากเปล่า - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - ความถูกต้องของรายงานผลปฏิบัติการ - สอบย่อย และสอบถามความรู้บทปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ - สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 - สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 45 %
3 3.1, 3.2, . ความถูกต้องและความทันเวลาของงานมอบหมาย PBL 1-15 15%
4 4.1, 4.2, 4.3., 4.4 - มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด - ให้นักศึกษาแบ่งงานและกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน 1-15 3%
5 5.1,5.2,5.3 - มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษา ที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ - ในการค้นคว้านั้น ส่วนหนึ่ง นักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง - กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ Power Point 15 - 16 3%
5 5.1,5.2,5.3 - มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษา ที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ - ในการค้นคว้านั้น ส่วนหนึ่ง นักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรื่อง - กำหนดให้มีการนำเสนอในรูปแบบของ Power Point 15 - 16 3%
1.ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
1. ตำราและเอกสารหลัก
จริงแท้ ศิริพานิช. 2541. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้. พิมพ์ครั้งที่ 2.
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.396 หน้า.
 
 
 
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
กรมวิชาการเกษตร.มปป. ความต้องการไม้ผลเมืองร้อนของอเมริกา( ตอนที่2 ).แหล่งที่มา
http //www.doa.go.th( 10 เมษายน 2547 )
กรมส่งเสริมการเกษตร.มปป. ภาชนะบรรจุอาหาร.กลุ่มงานเคหกิจเกษตร กองพัฒนาบริหารงานเกษตร
แหล่งที่มา http //www.doa.go.th/ library ( 15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการเกษตร.2541.การปลูกแอปเปิล.แผ่นพับเผยแพร่ที่78. ฝ่ายส่งเสริมเกษตรที่สูง. แหล่งที่มา
http //www.doae.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546. การจัดทำมาตรฐานสินค้าเกษตร. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.โครงการพัฒนามะม่วง ฝรั่ง สมุนไพร และเครื่องเทศฉายรังสี. สำนักบริการ
ส่งออก .แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ชาวต่างชาติรับประทานมะม่วงกันอย่างไร. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ตลาดกล้วยของไทยในต่างประเทศ. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.ไต้หวันประกาศแก้ไขกฎระเบียบการตรวจกักกันโรคพืชและห้ามการนำเข้า
สินค้าเกษตรจากไทยจำนวน7 ชนิด. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http
//www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.มะขามหวาน. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http
//www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.รายงานผลโครงการความช่วยเหลือผู้เชี่ยวชาญอิสราเอลสินค้าผักและผลไม้สด.
สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กรมส่งเสริมการส่งออก.2546.อนาคตของลำไยไทย. สำนักบริการส่งออก .แหล่งที่มา
http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
กิตติพงษ์ ห่งรักษ์.2542 .ผักและผลไม้. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.กรุงเทพฯ.311 น.
เกตุอุไร ทองเครือ.2541. การปลูกสับปะรด .กรมส่งเสริมการเกษตร. แหล่งที่มา
http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
จริงแท้ ศิริพานิช และธีรนุช ร่มโพธิ์ภักดิ์.2543. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.โรงพิมพ์ศูนย์
ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

90 น.

จิรา ณ หนองคาย .2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผัก ผลไม้ และดอกไม้.สำนักพิมพ์แมสพับลิชชิง.
กรุงเทพฯ 272 น.
จุไรรัตน์ แสงสวัสดิ์.2541. การปลูกฝรั่ง.กองส่งเสริมพืชสวน กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา
http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
เฉลิมเกียรต โภคาวัฒนา และภัสรา ชวประดิษฐ์.2541. การผลิตข้าวโพดฝักอ่อน.กรมส่งเสริม
การเกษตร.แหล่งที่มา http//www.doae.go.th / library (15 มีนาคม 2547 )
เฉลิมเกียรติ โภคาวัฒนา ภัสรา ชวประดิษฐ์ ปิยรัตน์ เขียนมีสุข และนิยมรัตน์ ไตรศรี.2541.
กระเจี๊ยบเขียว.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http//www.doae.go.th / library (15
มีนาคม 2547 )
ดนัย บุณยเกียรติ. 2540.สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ .
เชียงใหม่ .222 น.
ดนัย บุณยเกียรติ. 2543.โรคหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.เชียงใหม่.
156 น.
ดนัย บุณยเกียรติ และนิธิยา รัตนาปนนท์. 2535.การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้.สำนักพิมพ์
โอเดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.146 น.
นลินี โหมาศวิน.2546.การส่งออกทุเรียนสดไปตลาดต่างประเทศ. สำนักบริการส่งออก กรมส่งเสริม
การเกษตร.แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
นลินี โหมาศวิน.2546. ผู้นำเข้ามังคุดจากญี่ปุ่นเยือนไทย. สำนักบริการส่งออก กรมส่งเสริมการเกษตร.
แหล่งที่มา http //www.depthai.go.th(15 มีนาคม 2547 )
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2537.โภชนศาสตร์เบื้องต้น. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.
นิธิยา รัตนาปนนท์ และดนัย บุณยเกียรติ. 2537.การปฏิบัติภายหลังการเก็บเกี่ยวดอกไม้. สำนักพิมพ์โอ
เดียนสโตร์.กรุงเทพฯ.
ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกียรติ.2541 .บรรจุภัณฑ์อาหาร.บริษัทโรงพิมพ์หยี่เฮง จำกัด
กรุงเทพฯ.358 น.
พัฒนา นรมาศ.2541.การปลูกมะม่วง.คำแนะนำที่ 43.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http
//www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547 )
พัฒนา นรมาศ สมคิด โพธิ์พันธ์ และอัญชลี พัดมีเทศ.มปป.ดัชนีการเก็บเกี่ยวมังคุดเพื่อการส่งออก
แผ่นพับเผยแพร่ 201. 43.กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th
/library(15 มีนาคม 2547 )
เรณู ดอกไม้หอม. มปป. การป้องกันและกำจัดแมลงวันผลไม้.กองป้องกันและกำจัดศัตรูพืช.กรม
ส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547 )
วัฒนา สรรยาธิปิติ . 2541.การปลูกมะม่วง.ศูนย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ.สำนักงาน
ส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.แหล่งที่มา http //www.doae.go.th
/library(15 มีนาคม 2547 )
สังคม เตชะวงศ์เสถียร.2536.ดัชนีการเก็บเกี่ยว.เอกสารคำสอนวิชาการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุนีย์ สหัสโพธ์.2543.ชีวเคมีทางโภชนาการ.สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. กรุงเทพฯ.
อดิศร กระแสชัย. 2535. เบญจมาศ. โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ กรุงเทพฯ 129 หน้า.
สุวิมล กีรติพิบูลย์.2543.GMP ระบบการจัดการและควบคุมการผลิตอาหารให้ปลอดภัย.สำนักพิมพ์
ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น ). กรุงเทพฯ
สุวิมล กีรติพิบูลย์.2544. ระบบประกันคุณภาพด้านความปลอดภัยของอาหาร; HACCP.สำนักพิมพ์
ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น ). กรุงเทพฯ
Anon.1991. Control atmosphere (C.A .)& modified atmosphere.(M.A. ). P 77-87.In
Fresh produce manual: handling & storage practices for fresh produce. 2nd
edition. Australia United Fresh Fruit & Vegetable Association Ltd, Victori
Anon.2003.Baby vegetable enjoint boom in France. Eufruit magazine. March:23 –
24. Blacker, K. J.1989.Humidity –Temperture magazine.p25- 61. In Fresh
produce manual:handling & storage practices for fresh produce. 2nd edition.
Australia United Fresh Fruit & Vegetable Association Ltd, Victori
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ
อภิตา บุญศิริ.2545. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวนรุ่นที่14 : เอกสารประกอบการฝึกอบรม. ฝ่าย
ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน. นครปฐม.
อัญชลี พัดมีเทศ. 2541 . การปลูกส้มเขียวหวาน. คำแนะนำที่ 36 .กรมส่งเสริมการเกษตร.แหล่งที่มา
http //www.doae.go.th /library(15 มีนาคม 2547 )
Rom Plastica snc.No date.Packaging for fruit and vegetable.Availabl
http://www.rom plastica .com (15 April 2004).
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและ
นอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ
และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
หลักสูตรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมิน
ประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนนของรายวิชา ๖๐% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดย นักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวน เนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผล การดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตร พิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป