พืชอาหารสัตว์

Forage Crops

1.1 สามารถจำแนกชนิดของพันธุ์ และคุณค่าทางอาหารพืชอาหารสัตว์ได้
1.2 สามารถนำพืชอาหารสัตว์ไปใช้ประโยชน์ได้
1.3 สามารถปลูก ดูแล การเก็บถนอมพืชอาหารสัตว์ได้
เพื่อให้มีเนื้อหาที่ถูกต้องและก้าวทันการเปลี่ยนแปลง
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการจำแนกพันธุ์ และคุณค่าทางอาหารของพืชอาหารสัตว์ การใช้ประโยชน์ของพืชอาหารสัตว์ การปลูก การดูแลรักษาและการเก็บเกี่ยว การคัดเลือกและขยายพันธุ์ การบำรุงรักษาทุ่งหญ้า และการจัดการระบบน้ำในแปลงพืชอาหารสัตว์ การถนอมพืชอาหารสัตว์ไว้ใช้ในฤดูที่ขาดแคลน
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
- มีวินัย ขยัน อดทน และตรงต่อเวลา (1.3)
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (1.4)
1.2 วิธีการสอน
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือ ตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียน ในโอกาสต่างๆ
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของการมีวินัย ขยัน อดทน และการตรงต่อเวลา
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อ การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา การเคารพและให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่สาขาวิชาฯ/คณะ จัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และการส่งรายงาน
- ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศึกษาอื่นๆในรายวิชา
- นักศึกษาประเมินตนเอง
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
มีความรู้และความเข้าใจในจำแนกพันธุ์ การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว การคัดเลือกและ การขยายพันธุ์ การถนอมพืชอาหารสัตว์ไว้ใช้ในฤดูที่ขาดแคลน (2.1)
2.2 วิธีการสอน
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูล เพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษา ด้วยตนเอง และการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
- เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่อง ที่ต้องสร้างความเข้าใจ
- การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- ทำรายงานรายบุคคล
- สามารถคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาทั้งในและนอกชั้นเรียน (3.1)
- สามารถใช้ความรู้ในจำแนกพันธุ์ การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว การคัดเลือกและ การขยายพันธุ์ การถนอมพืชอาหารสัตว์ไว้ใช้ในฤดูที่ขาดแคลน มาประยุกต์ใช้ในการผลิตสัตว์ (3.2)
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความ น่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
- มอบหมายงานกลุ่มจัดทำโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ
- ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
- รายงานกลุ่ม
- การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี (4.1)
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4.2)
- สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (4.3)
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์ กับนักศึกษาอื่น และบุคคลภายนอก
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และด้านความรับผิดชอบ
- ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่นๆในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
- ใช้ PowerPoint ที่น่าสนใจ ชัดเจน ง่ายต่อการติดตามทำความเข้าใจ ประกอบการสอนในชั้นเรียน
- การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ นำเสนอและสืบค้นข้อมูล
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบ สื่อเทคโนโลยี
- ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
- ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
สมเกียรติ ประสานพานิช. 2545. การใช้ประโยชน์จากพืชอาหารสัตว์. ภาควิชาสัตว
บาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. หนังสือ เอกสาร และข้อมูลอ้างอิง ที่สำคัญ
Prasanpanich, S., P. Sukpituksakul, S. Tudsri, C. Mikled, C. J. Thwaites and C. Vajrabukka. 2002. Milk production and eating patterns of lactating cows under grazing and indoor feeding conditions in central Thailand. Trop. Grassld. 36: 107-115.
Tudsri, S., H. Matsuoka and K. Kobashi. 2002. Effect of temperature on seeding growth characteristics of Panicum maximum. Trop. Grassld. 36: 165-71.
วิศิษฐิพร สุขสมบัติ. 2557. การปรับปรุงคุณภาพด้านองค์ประกอบทางเคมีในน้ำนมโดยการ
จัดการด้านอาหาร. แหล่งที่มา:
www.google.com.region3.dld.go.th/th/images/stories/region3/sec.../dairy/.../-
1.doc‎ , 7 เมษายน 2557.
กฤตพล สมมาตย์. 2550. โภชนพลังงานศาสตร์ในสัตว์เคี้ยวเอื้อง. พิมพ์ครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุง. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
Humphreys, L.R. 1991. Tropical pasture utilization. Published by The Press Syndicate of the University of Cambridge.
1. การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการ เรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
3. การปรับปรุงการสอน
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนด ทุกสาขาการศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์ การสอน/ การวิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาทำวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย สาขาการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา เพื่อหารือปัญหา การเรียนรู้ของนักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข 
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบ และระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบ ของสาขาวิชา ภายในกรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมิน การสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป