เนื้อและผลิตภัณฑ์

Meat and Meat Products

.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพ เคมี และสรีรวิทยาของเนื้อสัตว์ 1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในกระบวนการฆ่าสัตว์, การชำแหละ, การตกแต่ง, มาตรฐานโรงงาน และการกำจัดของเสีย 1.3 เพื่อให้ได้เรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภายหลังการฆ่าเช่น คุณภาพเนื้อสัตว์ การถนอมรักษา กรรมวิธีการแปรรูปเนื้อสัตว์แบบต่างๆและผลิตผลพลอยได้จากสัตว์
เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การปรับปรุงของหลักสูตร และกระตุ้นให้นักศึกษามีการพัฒนาการกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ และองประกอบของเนื้อสัตว์ การเตรีมสัตว์ก่อนฆ่า วิธีการฆ่า การจำแนกคุณภาพเนื้อ มาตรฐานโรงงานและอุปกรณ์ การกำจัดของเสีย การเก็บรักษาเนื้อ ผลิตภัณฑ์และการทำลิตภัณฑ์เนื้อที่นิยมในประเทศไทย
1  ชั่วโมง
.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม ˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์
1. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) . การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) 3. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) 2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 5. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share) 6. การสอนฝึกปฏิบัติการ 7. การสอนโดยใช้เกม (Games 8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.งานที่ได้มอบหมาย 1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2. ข้อสอบอัตนัย 3. ข้อสอบปรนัย 4. การนำเสนองาน 5. รายงานบทปฏิบัติการ
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและ หลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 
1. กระบวน การคิด 1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) 3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2. ข้อสอบอัตนัย 3. ข้อสอบปรนัย 4. การนำเสนองาน 5. รายงานบทปฏิบัติการ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่าง มีระบบ
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) 3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2. ข้อสอบอัตนัย 3. ข้อสอบปรนัย 4. การนำเสนองาน 5. รายงานบทปฏิบัติการ
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) ˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม š4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคม ในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping) 3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2. ข้อสอบอัตนัย 3. ข้อสอบปรนัย 4. การนำเสนองาน 5. รายงานบทปฏิบัติการ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) ˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ เหมาะสม š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การนำเสนองาน 2. การสังเกต 3. การตอบคำถาม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
นคร สานิชวรรณ . 2553. เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์. สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
สัญชัย จตุรสิธทา .2547. การจัดการเนื้อสัตว์พิมพ์ครั้งที่ 3 . โรงพิมพ์มิ่งเมือง. เชียงใหม่. FAO .1991. Guidelines for slaughtering, meat cutting and further processing. Rome. FAO and WHO . 1993. CODEX ALIMENTARIUS VOLUME TEN: Meat and meat products. including soups and broths. Rome
สํานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์. 2548. คู่มือปฎิบัติงานในโรงงานผลิตภัณฑ์ เนื้อ สุกร . พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด . กรุงเทพฯ สํานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ . 2548. คู่มือการจัดการสิ่งแวดล้อมสําหรับโรงฆ่าสุกร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด . กรงเทพฯ สุวิมล กีระติพิมล. 2543. GMP ระบบการจัดการและควบคุมการผลิตอาหาร สํานักพิมพ์ส.ส.ท. : กรุงเทพฯ
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการ เรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้ง โดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา..
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนด ทุกสาขา การศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์ การสอน/ การวิจัยในชั้น เรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาทำวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย สาขาการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา เพื่อหารือปัญหา การเรียนรู้ของ นักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบ และระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบ ของสาขาวิชา ภายในกรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมิน การสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป