การประยุกต์ใช้โปรแกรมตารางคำนวณขั้นสูง

Implementation of Advanced Spreadsheet

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สูตรทำงานเกี่ยวกับตัวเลข วันที่และข้อความแบบซับซ้อน การเรียงลำดับ การกรอง การสรุปข้อมูลทางสถิติ การตรวจสอบข้อมูลตามเงื่อนไข การสร้างตาราง  Pivot การดูข้อมูลในมิติต่างๆ ในรูปแบบกราฟและตาราง การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ what –if การพยากรณ์แนวโน้มและสถานการณ์ การเชื่อมโยงสูตรและดูข้อผิดพลาดของสูตรคำนวณและแก้ไขข้อผิดพลาดของสูตร การกำหนดค่ารักษาความปลอดภัยของเซล์ ชีท และไฟล์ การสร้างและการรันมาโคร และการนำมาโครไปใช้งานขั้นสูง
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้สูตรทำงานเกี่ยวกับตัวเลข วันที่และข้อความแบบซับซ้อน การเรียงลำดับ การกรอง การสรุปข้อมูลทางสถิติ การตรวจสอบข้อมูลตามเงื่อนไข การสร้างตาราง  Pivot การดูข้อมูลในมิติต่างๆ ในรูปแบบกราฟและตาราง การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ what –if การพยากรณ์แนวโน้มและสถานการณ์ การเชื่อมโยงสูตรและดูข้อผิดพลาดของสูตรคำนวณและแก้ไขข้อผิดพลาดของสูตร การกำหนดค่ารักษาความปลอดภัยของเซล์ ชีท และไฟล์ การสร้างและการรันมาโคร และการนำมาโครไปใช้งานขั้นสูง
วันพุธ จำนวน 1.30 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตั้งแต่เวลา 15.00-16.30 น.
คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ข้อ 1 (1) มีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
ข้อ 1 (2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
เน้นความสำคัญของการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ให้นักศึกษาปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลงของรายวิชา
สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน รวมถึงการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด
ความรู้ที่ต้องได้รับ
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 2 (3) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
เน้นหลักการทางทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้เป็นไปตามเนื้อหาสาระของคำอธิบายรายวิชา ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลโดยการทำงานเป็นกลุ่ม

 
ประเมินจากการทดสอบกลางภาคและปลายภาค ประเมินจากงานที่มอบหมาย
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
ข้อ 3 (2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
ให้นักศึกษาเรียนรู้จากข้อมูลของแต่ละกลุ่มที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน ให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ข้อมูลของแต่ละกลุ่มที่นำเสนอและเสนอแนะข้อคิดเห็นในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์
ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลของแต่ละกลุ่มหน้าชั้นเรียน ประเมินจากการซักถาม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกลุ่ม
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำเสนอ
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
มอบหมายงานให้นักศึกษาและนำเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสม มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายและรูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ประเมินจากผลงานที่ได้สืบค้นทางอินเตอร์เน็ต
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ข้อ 1 (1) มีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ ข้อ 1 (2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม ข้อ 2 (3) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์ ข้อ 3 (2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
1 BBAIS807 การประยุกต์ใช้โปรแกรมตารางคำนวณขั้นสูง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 1 (1) (2) ข้อ 2 (1) (2) (3) ข้อ 3 (1) (2) ข้อ 4 (1) ข้อ 5 (3) - ทำแบบทดสอบกลางภาคหัวข้อ 1 – 7 - ทำแบบทดสอบปลายภาคหัวข้อ 8 – 13 9, 17 30 คะแนน, 30 คะแนน
2 ข้อ 1 (1) (2) ข้อ 2 (1) (2) (3) ข้อ 3 (1) (2) ข้อ 4 (1) ข้อ 5 (3) - วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงานและงานที่มอบหมาย - จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 30 คะแนน,10 คะแนน
ชนาภา หันจางสิทธิ์. สร้างและวิเคราะห์งบการเงิน ด้วย Excel ฉบับมืออาชีพ. นนทบุรี:, 2558.
ภาษิต เครืองเนียม. คู่มือโปรแกรม Microsoft Office Excel 2010. นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2553.
คู่มือการใช้โปรแกรมบัญชีสำเร็จรูป Express For Windows. กรุงเทพฯ
ภาษิต เครืองเนียม. คู่มือโปรแกรม Microsoft Office Excel 2010. นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2553.
 1. สภาวิชาชีพบัญชี  www.fap.or.th  2. กรมสรรพากร  www.rd.go.th  3. สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  www.sec.or.th  4. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  www.set.or.th  5. ธนาคารแห่งประเทศไทย  www.bot.or.th  6. กรมศุลกากร  www.customs.go.th  7. กรมสรรพาสามิต  www.excise.go.th  8. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์  www.dbd.go.th       Web ต่างประเทศ  1. International Accounting Standards Board  www.iasb.org  2. The American Institute Of Certified Public Accountants  www.aicpa.org  3. The International Federation Of Accountants  www.ifac.org  4. U.S. Securities Exchange Commission  www.sec.gov
1) การสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเป็นรายคนและรายกลุ่ม
2) แบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
1) สังเกตการมีส่วนร่วมในการทำงาน
2) การตรวจงานที่มอบหมาย
3) การตรวจความมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
4) ทดสอบวัดผลการเรียน
1) ประชุมผู้สอนในสาขาเพื่อพิจารณาผลในภาพรวมและนำไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป
2) การวิจัยในชั้นเรียน
1) ทดสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการทวนถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
2) ทดสอบความรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
1) ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับยุคสมัย
2) ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนตามข้อเสนอและและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์
3) ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ