หลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม

Principles of Engineering Mechanics

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในหลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งในการทำงาน และการเรียนวิชาที่สูงขึ้นไปในอนาคต รวมถึงให้เกิดการฝึกมุงมองแบบวิศวกร ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
                    ศึกษาเกี่ยวกับหลักการของกลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง ระบบแรง สมดุลสถิต แรงเสียดทาน แรงในโครงสร้างและเครื่องจักรกล เคเนเมติกส์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง เคเนติกส์ของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็งโดยใช้กฎของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนตัม บทนำสู่การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต
-    อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งเวลาให้คำปรึกษา
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
  1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ

ต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนด

1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
ผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1.3.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรม พื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้าง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีจากการบรรยาย และประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและปัญหาจริง
ประเมินจากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
 
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีจากการบรรยาย และประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและปัญหาจริง
ประเมินจากการทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง และ
สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานในส่วนที่ไม่ได้จัดการเรียนการสอนให้
ผลของงานที่มอบหมายในหัวข้อที่ไม่ได้จัดการเรียนการสอนให้
สามารถใช้เครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพใน
สาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1  ทำการสอนโดยใช้แสดงการใช้เครื่องมือคำนวนเป็นตัวอย่าง
5.2.2  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ สื่อการสอน E-Learning จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำมาใช้กับงานที่มอบหมายให้
5.3.1   ประเมินจากพฤติกรรมและวิธีการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบ
5.3.2   ประเมินจากผลงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1 1 3 3
1 ENGCC502 หลักการของกลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้และปัญญา การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และ การสอบปลายภาค 5, 9, 13 และ 17 90
2 คุณธรรมจริยธรรม และทักษาะความสัมพันธ์และความรับผิดชอบ พฤติกรรมในชั้นเรียนและความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 10
 Meriam, J.L. and Kraige, L.G. Engineering Mechanics STATICS. 7th ed., Wiley.
Meriam, J.L. and Kraige, L.G. Engineering Mechanics DYNAMICS. 7th ed., Wiley.
Hibbeler, R. C.. Engineering mechanics 13th ed. New York: Macmillan.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
จากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยทำการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยการสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
 
ในระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ