การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
     - มีความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
     - มีความรู้ ความเข้าใจองค์ประกอบต่างๆ ของภาษาในการเขียนโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง
     - สามารถนำโปรแกรมไปประยุกต์ในชีวิตประจำวันได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางการเขียนโปรแกรมพื้นฐานเบื้องต้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการแก้ปัญหา สามารถนำาความรู้ ความเข้าใจ ในรายวิชามาเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย เพื่อประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษาต่อไป
ศึกษาหลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ การเขียนขั้นตอนวิธีและเขียนผังงาน องค์ประกอบของประโยคคำสั่ง เช่น ตัวแปร ค่าคงที่ เครื่องหมายกระทำการ นิพจน์ ฟังก์ชัน เป็นต้น ชนิดของข้อมูลแบบต่าง ๆ โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์ โครงสร้างคำสั่งแบบตามลำดับ เลือกทำ และการวนซ้ำ การสร้างโปรแกรมย่อย โดยการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ในการฝึกปฏิบัติ การใช้เครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม การตรวจสอบ ทดสอบ และแก้ไขโปรแกรม
1 ชั่วโมง

 
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
   1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
    1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
   1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
สังเกต
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
สังเกต
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
   4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
   4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
   4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย
การสังเกต
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
   6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
   6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
   6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)  
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  
6. การสอนโดยใช้เทคนิค Buzzing 
7. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
8. การสอนแบบบรรยาย  
การสังเกต
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะความวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 2. สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยฑธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู 3. แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคาระพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1. มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพเฉพาะรวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ 3. สามารถนำหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม 1. มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม 2. มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 1. แสดงออกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 2. แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม 3. สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม 1. มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทำให้สามารถเข้าองค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวมเร็ว 2. สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถสนทนา เขียน และนำเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลายหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์ 2. แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอน รวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมีนวัตกรรม
1 TEDCC826 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - 1.3
- 4.1
- การเข้าชั้นเรียน
- การส่งรายงานตรงเวลา
- การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
1-15 5%
2 - 1.3
- 4.1
- การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน / นอกชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 - 2.1
- 3.2
- การสอบย่อย 5, 10 20%
4 - 2.1
- 3.2
- การสอบกลางภาค 8 30%
5 - 1.3
- 5.2
- การนำเสนองาน
- ส่งรายงาน
- ส่งแบบฝึกหัด
14 10%
6 - 2.1
- 3.2
- สอบปลายภาค 16 30%
    -  กิตินันท์ พลสวัสดิ์, ไกรศร ตั้งโอภากุล, คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา C
    - อรพิน ประวัติบริสุทธิ์, คู่มือเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C ฉบับสมบูรณ์
    - วรรณวิภา ติตถะสิริ, การเขียนโปรแกรม C ด้วยตนเอง
- ดอนสัน ปงผาบ, การเขียนโปรแกรมภาษาซีในงานควบคุม
- มนตรี พจนารถลาวัณย์, การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยเทอร์โบซี
-
 - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
 - การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
 - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 - ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซด์ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องการสื่อสารกับนักศึกษา
- ผลการสอบ
     - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
     - การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
     - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
     - การวิจัยใน/นอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
     - ตรวจสอบผลประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
      จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การสอน และรายละเอียดรายวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
     - ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาและโปรแกรมที่เกี่ยวข้องให้ทันกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย