ทักษะช่างเกษตร

Farm Shop Skills

1. มีทักษะการเลือกใช้อุปกรณ์  เครื่องมือ  และเครื่องทุ่นแรงที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างงาน ภูมิทัศน์           
 2.  มีทักษะการใช้อุปกรณ์  เครื่องมือ  และเครื่องทุ่นแรงที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างงานภูมิ ทัศน์             
3. มีทักษะการดูแลอุปกรณ์  เครื่องมือ  และเครื่องทุ่นแรงที่เกี่ยวข้องกับก่อสร้างงานภูมิ ทัศน์
4  .สามารถท างานที่ได้มอบหมายร่วมกับผู้อื่นได้ 5.สร้างทัศนคติที่ดีในการปฎิบัติทักษะงานช่างและเครื่องจักรกลการเกษตร  
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียม ความพร้อมด้านปัญหาในการน าความรู้ ความเข้าใจ   เกี่ยวกับการงานฟาร์มประมง  เพื่อเป็นพื้นฐาน การเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้และการบ ารุงรักษาเครื่องมือในงานไม้ งานปูน งานคอนกรีต งานไฟฟ้า งานประปา และงานสี เป็นต้น เครื่องจักรกลการเกษตร และเครื่องทุ่นแรงฟาร์มในระบบ การผลิตทางการเกษตร อาทิ ระบบการให้น้ า ระบบปรับสภาพอากาศและความชื้น เป็นต้น 
ปรึกษาได้ตลอดเวลา ผ่านทาง Facebook หรือ Line กลุ่ม 
1.1 มีจิตส านึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทาง วิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรง ต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 
1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง กรณีศึกษา   
 ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)  1.1 มีจิตส านึกสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทาง วิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรง ต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม      1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง กรณีศึกษา    1.พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และ ตรงเวลา 2.มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้น ามาท า รายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3.ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.ประเมินผลการน าเสนอรายงานที่ มอบหมาย   
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้ง ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติใน เนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการและ เทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
1.ก าหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่ มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา 2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมง เรียนหรือการบ้านในแต่ละ หัวข้อ 3.ใช้ความสามารถและเทคนิค ถ่ายทอดอาทิเรื่องเล่า ประสบการณ์กรณีศึกษา 4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับ มอบหมายเพื่อการน าเสนอ 5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการ เรียน   
1.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาใน การเข้าชั้นเรียน (แต่งกายตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) 2.ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาใน การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การ อภิปรายผล การตอบค าถาม) 3.ประเมินจากพฤติกรรมการน าเสนองาน ที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว ทักษะ ในการสื่อสาร)   
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการ ประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้าน วิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการน าความรู้มา คิดและใช้อย่างมีระบบ   
1.ก าหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่ มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมง เรียนหรือการบ้านในแต่ละ หัวข้อ 3.ใช้ความสามารถและเทคนิค ถ่ายทอดอาทิเรื่องเล่า ประสบการณ์กรณีศึกษา 4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับ มอบหมายเพื่อการน าเสนอ 5.อภิปรายกลุ่ม 6.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการ เรียน 
 
1.ทดสอบย่อย  2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย 3.ทักษะการน าเสนอ การตอบค าถาม 
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาท สังคมที่ดี 4.2  มีภาวะความเป็นผู้น า และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถท างานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้ อย่างเหมาะสม 4.4  สามารถใช้ความรู้ใน ศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม  1
1.ก าหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่ มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา 2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมง เรียนหรือการบ้านในแต่ละ หัวข้อ 3.ใช้ความสามารถและเทคนิค ถ่ายทอดอาทิเรื่องเล่า ประสบการณ์กรณีศึกษา 4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับ มอบหมายเพื่อการน าเสนอ 5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการ เรียน   
1.ทดสอบย่อย  2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย 3.ทักษะการน าเสนอ การตอบค าถาม 
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม   
1.ก าหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่ มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2.แบบทดสอบย่อยในชั่วโมง เรียนหรือการบ้านในแต่ละ หัวข้อ 3.ใช้ความสามารถและเทคนิค ถ่ายทอดอาทิเรื่องเล่า ประสบการณ์กรณีศึกษา 4.ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับ มอบหมายเพื่อการน าเสนอ 5.บันทึกพฤติกรรมระหว่างการ เรียน 
 
1.ทดสอบย่อย  2.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย3.ทักษะการน าเสนอ การตอบค าถาม 
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วย ตนเอง 6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง ถูกต้องแม่นย า 6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดย อัตโนมัติเป็นธรรมชาติ   
ปฏิบัติการในห้องทดลอง ปฏิบัติภาคสนาม 
1.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย 2.ทักษะการน าเสนอ การตอบค าถาม 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ุุ6.ด้านทักษะพิสัย 1 คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะ ทาง ปัญญา 4.ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลและ ความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 1 2 3 1 3 2 1
1 BSCAG003 ทักษะช่างเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ให้ระบุหมายเลขข้อย่อย ตามผลการเรียนรู้ ทักษะ 5 ด้าน การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 95%
 
เทคนิคคอนกรีตเสริมเหล็ก พนม ภัยหน่าย 
ใบงานแต่ละสัปดาห์ 
 วิธีการท าเฟอร์โรซีเมนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร เทคนิคการก่อสร้างวิทยาการใหม่ ๆ 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดท าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดและความเห็นจาก นักศึกษาได้ดังนี้ 1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน 3. แบบประเมินผู้สอนโดยนักศึกษาและแบบประเมินรายวิชา 4. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 
1. จ านวนหรือร้อยละของผู้เข้าเรียนแต่ละคาบ และการสังเกตพฤติกรรม 2. ค าถาม หรือแบบทดสอบ ผลการเรียนรู้ ทั้งห้าด้าน 3. แบบประเมินผลการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 
ท าการปรับปรุงการสอนทุกปีการศึกษาโดยพิจารณาจากผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียนและผลประเมินการ สอนและปัจจัยอื่นๆต่อไปนี้ 1. ผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน ผลประเมินการสอน และแบบสอบถามความสนใจในชั้นเรียน 2. ประเด็นปัจจุบันหรือหัวข้อที่คัดสรรตามความสนใจ (Current issue & selected topics) 
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษาอาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกกระบวนการเรียน การสอนทวนสอบทั้งกระบวนการผลลัพธ์และผลสัมฤทธิ์เพื่อยืนยันว่าผลประเมินประสิทธิผลของรายวิชาผล ประเมินการสอนนั้นน่าเชื่อถือการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษาด าเนินการทุกครั้งที่มี การเรียนการสอนรายวิชาเช่น 1. ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัยได้แก่การเข้าเรียนและการสังเกต พฤติกรรม) โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา 2. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้วโดยผู้ร่วมสอนอื่นหรือผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา (Cross & Link check) 3. ผู้ร่วมสอนและร่วมรับผิดชอบรายวิชามีส่วนในการประเมินย่อยเช่น การออกข้อสอบร่วมและร่วม ประเมินผลการเรียน มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมเป็นต้น 
1. การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอนด าเนินการทุกปีการศึกษาอาศัย กระบวนการในมคอ.1มคอ.2และมคอ.3โดยเฉพาะผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (ข้อ1) ผลประเมินการสอน(ข้อ2) การปรับปรุงการสอน (ข้อ3) และการทวนสอบมาตรฐานผลส าฤทธิ์รายวิชาของ นักศึกษา (ข้อ4) การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยหลักสูตรคณะและระดับสถาบัน (มหาวิทยาลัย)สอดคล้องกับนโยบายปรัชญาวิสัยทัศน์พันธกิจและการประกันคุณภาพฯ