หลักเคมี

Principles of Chemistry

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1. รู้และเข้าใจในโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ หลักการเกิดพันธะเคมี สารละลาย กรด เบส เกลือ ปฏิกิริยาเคมี ไฟฟ้าเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมดุลเคมี
2. ประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้ทางเคมีในทางวิชาชีพของตนเองได้
3. มีทักษะการปฏิบัติเทคนิคทางเคมี
4. มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
5. สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสารประกอบทางเคมีได้  
ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับผู้เรียน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ  พันธะเคมี  สารละลาย  กรด 
เบส เกลือ  ปฏิกิริยาเคมีและไฟฟ้าเคมี   อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมดุลเคมี 
 
The study and laboratory practice about  Atomic structure and Periodic table,  Chemical bond, Solution, Acid-Base, Salt, Chemical reactions and Electrochemistry, Rate of chemical reaction and  Chemical equilibrium.
 
1.30 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 
- ตรวจเช็คการแต่งกายถูกระเบียบ มหาวิทยาลัยฯ ทุกครั้งที่มาเรียน
- เช็คชื่อเข้าห้องเรียน
- ตรวจผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- สอนโดยบรรยาย
- สอนด้วยเทคนิค Inquiry ในอภิปรายผลการทดลอง
- การทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
- ประเมินผลจากการสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
 
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ให้ทำแบบฝึกหัดท้ายชั่วโมงเรียน
- ให้ท่องธาตุ20ตัวแรกในตารางธาตุ
- ให้เขียนธาตุ 8 หมู่ย่อย A
- ประเมินผลจากแบบฝึกหัด
- สังเกตพฤติกรรมการทำแบบฝึกหัด
- ประเมินจากผลการท่องธาตุและเขียนธาตุ
4.1  มีความรับผิดชอบต่องานและหน้าที่ของตนเอง
4.2  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- ให้ทำแบบฝึกหัด
- ค้นคว้านอกเวลาเรียน
- ประเมินจากผลงานที่ทำและรายงานที่นำเสนอ 
- ประเมินจากการตรงต่อเวลาในการส่งงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 - มอบหมายให้สืบค้นความรู้เพิ่มเติมในบางหัวข้อ และนำเสนอโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
- ให้สืบค้นข้อมูลและนำเสนอเกี่ยวกับสมดุลแร่ธาตุในธรรมชาติหรือในศาสตร์ของตน
- ประเมินจากการนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
-
ผลการทดลองในห้องปฏิบัติการ
นักศึกษาทำการทดลองในห้องปฏิบัติการ
สังเกตการทำการทดลอง
ตรวจผลการทดลอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) . ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCCC107 หลักเคมี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การส่งงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.1 ทดสอบระหว่างเรียน สอบกลางภาค สอบปลายภาค รายงานผลการทดลอง 9 17 70
3 1.3, 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 1.3, 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 ตลอดภาคการศึกษา 20
1.   กฤษณา  ชุติมา.  2539.  หลักเคมีทั่วไป  เล่ม 1.  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ.

กฤษณา  ชุติมา.  2539.  หลักเคมีทั่วไป  เล่ม 2.  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  กรุงเทพฯ. ทบวงมหาวิทยาลัย.  2533.  เคมีเล่ม 1.  อักษรเจริญทัศน์,  กรุงเทพฯ. ทบวงมหาวิทยาลัย.  2533.  เคมีเล่ม 2.  อักษรเจริญทัศน์,  กรุงเทพฯ.  นภดล  ไชยคำ.  2543.  เคมี เล่ม 1.  แมคกรอ-ฮิล,  กรุงเทพฯ.  นภดล  ไชยคำ.  2543.  เคมี เล่ม 2.  แมคกรอ-ฮิล,  กรุงเทพฯ. ประเสริฐ  ศรีไพโรจน์.  2545.  เคมีพื้นฐานเล่ม 1.  สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์,  กรุงเทพฯ.

      8. วิโรจน์  ปิยวัชรพันธุ์.  2541.  เคมีทั่วไป 1.  โอเดียนสโตร์,   กรุงเทพฯ.
      9. ลัดดา  มีศุข.  2545.  เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ.
     10. นันทา  วิบูลย์จันทร์.  2545.  เคมี: วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์.  เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า,  กรุงเทพฯ
     11. ศศิธร  ปรือทอง. 2563. เอกสารประกอบการเรียนวิชาหลักเคมี. แผนกวิชาเคมี. สาขาวิทยาศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
ค้นคว้าจากเว็ปไซต์
ตารางธาตุ
ตารางลอการิทึม
บทความและคลิปวิดีโอเกี่ยวกับเคมีในด้านต่างๆ จากเว็บไซต์ต่างๆ  ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็น
ปัจจุบัน
1.1  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.2  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ผลการเรียนของนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 25% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของหลักสูตร ภายในรอบเวลาหลักสูตร
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหลักสูตร เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป