ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษา

Research Methodology in Language Studies

1. เพื่อให้มีความรู้ในระเบียบวิธีวิจัยเบื้องต้น และขอบข่ายการวิจัยทางภาษา
2. เพื่อให้สามารถการกำหนดหัวข้อในการทำวิจัย
3. เพื่อให้สามารถดำเนินการวิจัย ผ่านกระบวนการ นิยามปัญหา วิธีดำเนินการ การสรุป อภิปรายผล และเขียนรายงานวิจัยได้
4. เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในการทำวิจัย
1. พัฒนาพื้นฐานการความรู้ทางระเบียบวิธีวิจัยทางภาษา
2. พัฒนาทักษะการใช้หลักการวิจัยเป็นเครื่องมือในศึกษา ค้นคว้าในระดับที่สูงขึ้น
3. มุ่งเน้นให้นักศึกษามีคุณธรรมจริยธรรมในการทำวิจัย
ศึกษาระเบียบวิธีวิจัย และขอบข่ายการวิจัยทางภาษา การกำหนดหัวข้อวิจัย การนิยามปัญหาวิธีดำเนินการ การสรุปและอภิปรายผล และการเขียนรายงานการวิจัย
จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล ระบุจำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่จะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน และวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า เช่น จัดให้นิสิตพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ไว้ในประมวลการสอน และแจ้งให้นิสิตทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
[l] มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจวิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์ สุจริตต่อตนเอง และผู้อื่น


[l] มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง
1. ให้วิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม โดยใช้ทักษะทางภาษา
2. อภิปรายกลุ่ม
3. ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
4. กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น ให้เข้าห้องเรียนตรงเวลา และเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง
เวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ไม่มีการทุจริตในการสอบ
4. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 [l] มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม
และพัฒนาความรู้ ติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.2 [l] มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ
ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา
รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
และการดำรงชีวิตประจำวัน
1. บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์งาน และมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง
2. ให้ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
3. นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1. สอบย่อยระหว่างเรียนด้วยแบบทดสอบ
2. ประเมินจากประสิทธิผลของการศึกษาค้นคว้า การรายงานการศึกษาค้นคว้า และงานที่มอบหมาย
3. ทดสอบกลางภาค และปลายภาค
4. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินข้อมูลจากหลายแหล่ง เพื่อใช้แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม
3.1.4 สามารถรวมรวบ ศึกษาวิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการได้
1. บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
2. การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานวิจัย และนำเสนอผลการศึกษา
 
 สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
4.1.4 มีความรับชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายงานกลุ่มในการศึกษาค้นคว้า
2. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1. ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานกลุ่ม
2. รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
3. พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิถติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจในเรื่องที่ศึกษา
5.1.2 สามารถอธิบายและสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ในการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม
5.1.4 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่อยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.5 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อเรื่องที่ศึกษาอย่างสร้างสรรค์
บรรยาย อภิปรายและ ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ จากเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1.การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
6.1.4 สามาปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์  ตีความ อย่างมีเหตุผล
6.1.5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
บรรยาย อภิปรายร่วมกัน
การมีส่วนร่วมในการอภิปราย การทำแบบฝึกหัด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 2.9 2.1 2.1 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5
1 BOAEC119 ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยทางภาษา ในแต่ละคาบ แบบฝึกหัดในชั้นเรียน 1-8 และ 10-17 40
2 ความรู้ทางทฤษฎี แบบทดสอบกลางภาค 9 20
3 การทำวิจัย การนำเสนอโคร่งร่างการวิจัย 18 30
4 ความรับผิดชอบ การเข้าชั้นเรียน การเข้าชั้นเรียนให้สม่ำเสมอ 1-8 และ 10-17 10
กองวิจัยการศึกษา กรมวิชาการ. (2542). วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : คุรุสภา.
เกียรติสุดา ศรีสุข . (2545). ระเบียบวิธีวิจัย. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ดิลก บุญเรืองรอด. (2548). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก www.bansomdej.net/images/1200988898/Research%20Methodology.doc
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 10 กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียง.
สุภางค์ จันทวานิช. (2549).วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั=งท>ี 14) กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดียู ศรีนราวัฒน์และชลธิชา บำรุงรักษ์. (2558). ภาษาและภาษาศาสตร์. ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบ
ต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับ พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
2. ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้กับความคิด
3.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
- ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน
- กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน หรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทาง หรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  กลุ่มอาจารย์ผู้สอนทบทวนเนื้อหาและกลยุทธ์การสอน แล้วนำเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนารายวิชา เพื่อเสนอต่อที่ประชุมกลุ่มอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาสรุปและวางแผนพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพื่อนำเสนอภาควิชา / คณะ