การอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า

Electrical Energy Conservation and Management

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว ผู้เรียนต้องมีความสามารถต่าง ๆดังนี้

สามารถบอกความสําคัญของพลังงาน การใช้ด้านต่าง ๆ และแนวโน้มในอนาคต สามารถศึกษารู้เกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของประสิทธิภาพพลังงาน นโยบายและกฎหมาย ด้านพลังงาน มาตรฐานการจัดการพลังงาน สามารถรู้หลักการควบคุมประสิทธิภาพ พลังงานไฟฟ้าในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม การคิดอัตราค่าไฟฟ้า การ จัดการภาระทางไฟฟ้า การตรวจวัดและวิเคราะห์พลังงานได้ สามารถการตรวจวัดและวิเคราะห์พลังงาน เทคโนโลยีและ มาตรการประหยัดพลังงานอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง อุปกรณ์มอเตอร์อุตสาหกรรม อุปกรณ์ระบบความร้อน การระบายอากาศและปรับอากาศร่วมกับการประเมินศักยภาพการประหยัดและผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์
 -ยังไม่มีการปรับปรุง เนื่องจากเพิ่งเปิดสอนเป็นปีการศึกษาแรก
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการพื้นฐานของประสิทธิภาพพลังงาน นโยบายและกฎหมาย ด้านพลังงาน มาตรฐานการจัดการพลังงาน หลักการควบคุมประสิทธิภาพ พลังงานไฟฟ้าในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม การคิดอัตราค่าไฟฟ้า การ จัดการภาระทางไฟฟ้า การตรวจวัดและวิเคราะห์พลังงาน เทคโนโลยีและ มาตรการประหยัดพลังงานอุปกรณ์ไฟฟ้าแสงสว่าง อุปกรณ์มอเตอร์อุตสาหกรรม อุปกรณ์ระบบความร้อน การระบายอากาศและปรับอากาศ ระบบผลิตพลังงาน ร่วม การประเมินศักยภาพการประหยัดและผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์
ให้คําแนะนําในวันเวลาทีนักศึกษาต้องการและมาซักถามเป็นรายบุคคล นอกเวลาเรียนปกติ ในวันเวลาปฏิบัติราชการ จํานวนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วัน วันละ 1 ชัวโมง (เฉพาะรายที่ต้องการ)
š  1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้น การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2. นักศึกษาต้องมี ความรับผิดชอบโดยในการท างานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตาม ก าหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3.ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความ รับผิดชอบของนักศึกษา
4.ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
˜  2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2. ใช้เทคโนโลยีช่วยในการเรียนการสอน และสืบค้นหาข้อมูล
3. ฝึกปฏิบัติงานในสถานสถานที่จริง
1.การทดสอบย่อย
2.การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.ประเมินจากการนําเสนอผลการงานที่มอบหมาย
4.ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
 ˜ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. ละการบูรณาการการ เรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)
2. ให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบ ของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง
1.บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
2.การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
š 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่าง
1. กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม
2. ค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น
3.การทำงานที่ต้องประสานงาน กับผู้อื่นข้ามหลักสูตร
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น เรียน
2.พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
˜ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
1.ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน  การติดต่อสื่อสารและการพัฒนาตนเอง
2.  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
3.สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสา
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
3.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE125 การอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 และ 3.1 การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 1.3, 2.3 และ 4.3 การบ้านและงานที่มอบหมาย 3, 12 ร้อยละ 15
3 2.3, 3.2 และ 4.3 การนำเสนอรายงาน 4, 14 ร้อยละ 15
4 1.3, 2.3, 3.2 และ 5.1 สอบกลางภาค 9 ร้อยละ 30
5 1.3, 2.3, 3.2 และ 5.1 สอบปลายภาค 17 ร้อยละ 30
1.1    บุญญฤทธิ์ วังงอน (2563) เอกสารประกอบการสอนรายวิชา ผู้สอนรายวิชาTEDEE125 การอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า
1.2 สมพร เรืองสินชัยวานิช (2559) เอกสารประกอบการสอนการจัดการและอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
1.3 เทคนิคการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและกรณีศึกษา, ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2548, 361 หน้า
1.4 กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) "คู่มือแนวทางการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน” 2563
- ไม่มี
1.1 เอกสารเผยแพร่ คู่มือการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ หมายเลข 3 การใช้หม้อไอน้ำชนิดใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ, กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, 22 หน้า
1.1 เอกสารเผยแพร่ คู่มือการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ หมายเลข 6 ไอน้ำ, ศูนย์ทรัพยากรฝึกอบรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2544, 78 หน้า
1.2 เอกสารเผยแพร่ คู่มือการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ หมายเลข 8 การใช้ฉนวนสำหรับท่อร้อน, ศูนย์ทรัพยากรฝึกอบรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2544,54 หน้า
1.3 เอกสารเผยแพร่ คู่มือการใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ หมายเลข 11 การจัดการพลังงานและระบบแสงสว่าง, ศูนย์ทรัพยากรฝึกอบรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2544, 30 หน้า
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนไดจัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ