ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต

English for Life Skills

มีความรู้ ความเข้าใจ คำศัพท์ และสำนวนภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับทักษะชีวิต สังคมวัฒนธรรม และการทำงาน มีทักษะการฟัง และการอ่านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรม และสถานการณ์ในที่ทำงาน มีทักษะการพูด และการเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ สถานการณ์ในการดำรงชีวิตและการทำงานในปัจจุบัน ประเด็นทางสังคม และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน มีทักษะการใช้คำศัพท์ภาษาอังกฤษสืบค้นข้อมูล และศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้กลวิธีการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในบริบทสังคมปัจจุบัน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ฝึกปฏิบัติทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับทักษะชีวิต สังคม วัฒนธรรม และการทำงาน
Practice English listening, speaking, reading and writing skills related to life, social, cultural and work situations
25 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.00 น. ห้องพักอาจารย์ ชั้น 1 อาคาร 7
3.2 Line ID: annita-tr , Email: annita_tr@hotmail.com เวลา 17.00 - 21.00 น. ทุกวัน
-มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
-มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
-มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
-เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-Lecture
-Role-Playing
-การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
-การส่งรายงานตรงเวลา
-ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
-มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
-สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
-สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
-Lecture
-Flipped classroom
-Cooperative Team Learning
-Jigsaw Reading
-การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
-แบบฝึกหัด
-ตอบคำถามปากเปล่า
-สมมติบทบาท
-มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
-มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-Lecture
-Flipped classroom
-Cooperative Team Learning
-Jigsaw Reading
-Brainstorming,
-Roleplay
-การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
-แบบฝึกหัด
-ตอบคำถามปากเปล่า
-สมมติบทบาท
-การนำเสนอ
-การสอบกลางภาคและปลายภาค
-มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
-มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
-สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-Cooperative Team Learning
-Roleplay
-การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
-สมมติบทบาท
-การนำเสนอ
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
-สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
-สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-Cooperative Team Learning
-Jigsaw Reading
-Brainstorming,
-Roleplay
-การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
-สมมติบทบาท
-การนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสท่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 GEBLC102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.2, 5.3 ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 และ 2 8 และ 16 ทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 (10%) ทดสอบย่อย ครั้งที่ 2 (10%)
2 2.3, 3.2, 4.4, 5.3 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 17 สอบกลางภาค (20%) สอบปลายภาค (20%)
3 1.1, 1.2, 2.3, 3.2, 4.2, 4.4, 5.3 Assignments, E-learning, Communicative Activities & Attending LC activities ตลอดภาคการศึกษา Assignments (25%) E-learning (5%) Communicative Activities & Attending LC activities (5%
4 1.3 Class Attendance ตลอดภาคการศึกษา (5%)
Stempleski, S. (2017). Stretch multi-pack 2B. New York: Oxford University Press.
แบบฝึกหัดออนไลน์จากเว็บไซต์ www.oxfordlearn.com
นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง  การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
2.1 สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
2.2 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
2.3 ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจเนื้อหา
2.4 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
3.1   ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
3.2   สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
3.3   สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อไป
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต
5.1   ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
5.2   มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ และตามความน่าสนใจ
5.3   ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5.4  ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี