เทคโนโลยีระบบฝังตัวทางการเกษตร

Embedded System Technology in Agriculture

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และดิจิตอล สถาปัตยกรรมและระบบปฏิบัติการของระบบฝังตัว การเชื่อมต่อระบบฝังตัวกับเซ็นเซอร์และการใช้งานทางการเกษตร มีความซื่อสัตย์และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบและเป็นแบบองค์รวม มีความรับผิดชอบต่อบทบาททั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม และมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัยและสามารถตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และดิจิตอล สถาปัตยกรรมและระบบปฏิบัติการของระบบฝังตัว การเชื่อมต่อระบบฝังตัวกับเซ็นเซอร์และการใช้งานทางการเกษตร
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของพื้นที่ - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีความซื่อสัตย์และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และกำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1. การตรงต่อเวลาในการส่งงาน 2. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้ในสาขาวิชาชีพในเรื่อวต่อไปนี้ คือ ความรู้เบื้องต้นทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และดิจิตอล สถาปัตยกรรมและระบบปฏิบัติการของระบบฝังตัว การเชื่อมต่อระบบฝังตัวกับเซ็นเซอร์และการใช้งานทางการเกษตร
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี และประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบและเป็นแบบองค์รวม
1. กรณีศึกษาจากตัวอย่าง และ/หรือ บทบาทสมมติ 2. ให้ปฏิบัติในสถานการณ์จริง
1. ผลงาน/การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2. การสัมภาษณ์
มีความรับผิดชอบต่อบทบาททั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม
สังเกตการแสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. กรณีศึกษาจากตัวอย่าง และ/หรือ บทบาทสมมติ 2. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และกำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กรณีศึกษาจากตัวอย่าง และ/หรือ บทบาทสมมติ ให้ปฏิบัติในสถานการณ์จริง กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1 BSCAG136 เทคโนโลยีระบบฝังตัวทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ สอบกลางภาคการศึกษา (ทฤษฎี) 9 15%
2 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ สอบปลายภาคการศึกษา (ทฤษฎี) 17 15%
3 มีความซื่อสัตย์และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ การตรงต่อเวลาในการส่งงานและมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 มีความรับผิดชอบต่อบทบาททั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม สังเกตการแสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 ให้ปฏิบัติในสถานการณ์จริง ปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 40%
1. ประภาส สุวรรณเพชร. มปป. เรียนรู้และลองเล่น Arduino เบื้องต้น. วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ. ชัยภูมิ. 332 หน้า. 2. McManus, S. and Cook, M. 2017. Raspberry Pi for Dummies, 3rd Edition. John Wiley & Sons, Inc., Hoboken, New Jersey. 482p.
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเฟรซบุ๊คที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ