การวัดและเครื่องมือวัด

Measurement and Instrumentation

1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติปริมาณทางกล ด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าให้นักศึกษารู้และเข้าใจ
เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน
1.2 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติระยะกระจัด ความเครียด ความเร่ง อุณหภูมิ และอัตราการ
ไหล
1.3เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติ เทคนิคการบันทึกแจกแจงและปรับข้อมูลการรวบรวมจาก
ส่วนกลาง เพื่อผลทางการติดตาม
1.4 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและปฏิบัติการควบคุมกระบวนการผลิต
ศีกษาและปฏิบัติวัดปริมาณทางกล ด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ระยะกระจัดความเครียด ความเร่ง อุณหภูมิ และอัตราการไหล เป็นต้น เทคนิคการบันทึก แจกแจง และปรับข้อมูลการรวบรวมและแจกแจงข้อมูลจากส่วนกลาง เพื่อผลทางการติดตาม และควบคุมกระบวนการผลิต
1 ชัวโมง
1.1.1 มีวินัยตรงต่อเวลา รับผดิชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อขังคับต่างๆ มหาวทิยาลยัฯ
1.1.2 สามารถประเมินผลกระทบจากการใชัความรู้ทางวศิวกรรมต่อบุคคล  สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1   ปลูกฝังใหันักศึกษามีระเบียบวินัยปฏิติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้และ ปลูกฝังให้มีความรับผดิชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงต่อเวลา  การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจน การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวทิยาลยัฯ                 
1.2.2  ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวชิาชีพ   ความรับผดิชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อ บุคคล  สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1   การขานชื่อการใหค้ะแนนการเข้าชั้นเรียน  และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา
1.3.2   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1.3.3   ความรับผดิชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4  การกระทำทุจริตในการสอบ
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวศิวกรรมพื้นฐาน เพื่อประยุกต์ใช้กับการศึกษาของรายวิชาทางวศิวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิตศาสตร์
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวชิา วิศวกรรมเครื่องกล กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4  สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาสถิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
  2.2.1  บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนงัสือใช้สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง   
  2.2.2   มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2.3.1  การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2  ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน  
3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการ แก้ไขปัญหา ทางด้านวิศกรรมเครื่องกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.2  มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวตักรรมหรือ ต่อยอดองคค์วามรู้จากเดิมไดอ้ย่างสร้างสรรค์
3.1.3  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองคค์วามรู้ใหม่ๆ
3.2.1  กรณีศึกษาทางการประยกุตส์าขาวชิาวศิวกรรมเครื่องกล
3.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าจัดทำ รายงานทางเอกสารและนา เสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.3.2 ประเมินจากรายงานที่ไดร้ับมอบหมาย  และการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลในการ สื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่ เหมาะสม
4.1.2 สามารถวางแผนและรับผดิชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทาง วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 รู้จกัหน้ำที่และความรับผดิชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4.2.1  ปลูกฝังให้มีความรับผดิชอบต่อหน้าที่ที่ไดร้ับมอบหมาย 
4.2.2  ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า 
4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น  เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.3.1  ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันพฤติกรรมเป็นรายบุคคล  
4.3.2  ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.3.3  ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยมอบหมายงานให้การศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learningและส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1 มอบหมายงานให้การศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learning
5.2.2  ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
5.3.2 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสรรสนเทศที่เหมาะสม
5.3.3  ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
นักศึกษาสามารถการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learningและสามารถค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.2.1 สามารถการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learning
6.2.2  สามารถค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.3.1 สามารถการทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
6.3.2 สามารถนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสรรสนเทศที่เหมาะสม
6.3.3  สามารถอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย คุณธรรม จริยธรรม ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา กรณีศึกษาทางการประยุกต์สาขาวชิาวศิวกรรมเครื่องกลใหน้กัศึกษาค้นคว้าจัดทำรายงานทางเอกสารและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ปลูกฝังให้มีความรับผดิชอบต่อหน้าที่ไดัรับมอบหมายส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกโดยการถามคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอนและการนำเสนอรายงานที่ไดร้ับมอบหมายให้ค้นคว้าใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นเพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นดว้ยเหตุผล มอบหมายงานให้ศึกษาคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สือการสอน E- Learningส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและสามารถแบ่งความรับผิดชอบ ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้และ ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเขาชั้นเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจน การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังของมหาวทิยาลัยฯ ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวชิาชีพ ความรับผดิชอบในฐานะผปู้ระกอบวชิาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคลสังคมและสิ่งแวดล้มหากกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชีพ บรรยาย โดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างในหนงัสือใช้สือการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริงมอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1 31074304 การวัดและเครื่องมือวัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน ข้านชื่อเข้าชั้นเรียน ทุปสัปดาห์ 10
2 การส่งงานมอบหมายตามกำหนดเวลา ความสำเร็จของานมอบหมาย การนำเสนองานมอบหมาย เช็คตามงานที่มอบหมาย 8 15 50
3 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค สอบ 9 18 40
1.พรจิต ประทุมสวรรณ.(2548) เครื่องมือวัดอุตสาหกรรมเซ็นเซอร์และทรานดิวเซอร์. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.หน้า 1-9
2.พจนาฎ สุวรรณมณี.(2555) เซ็นเซอร์และทรานสดิสเซอร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่11. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
3.วิศรุต ศรีรัตนะ.(2554) เซ็นเซอร์และทรานสดิวเซอร์ทฤษฏีและการประยุกต์ใช้ในระบบการวัดและระบบควบคุม. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั้น.
4.ผศ.ดร.วรพงศ์ ตั้งศรีรัตน์.(2548) เซ็นเซอร์และทรานสดิสเซอร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).
5. Jack Golten and Andy Verwer, 1991, Control Systems Design and Simulation, McGraw-Hill.
6. Morris Driels, 1996, Linear Control Systems Engineering, McGraw-Hill, Inc, USA.
7. นาวี  นันต๊ะภาพ เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์สำหรับยานยนต์
การประชุมวิชาการระดับชาติ
2.1.นาวี นันต๊ะภาพ, ศรีธร  อุปคำ, รณชาติ  มั่นศิลป์และณัฐรัตน์  ปาณานนท์,2559,”การศึกษาการลดพลังงานไฟฟ้าของระบบเครื่องปรับอากาศในรถยนต์โดยใช้เทคนิคการปรับความกว้างของสัญญาณพัลล์ (PWM)”,การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย, ครั้งที่ 12, 8-10 มิถุนายน 2559, พิษณุโลก.
2.2. นาวี นันต๊ะภาพ, คณากร ขุนอาจ, ธนาการณ์ ไตรรสม ณัฐพล  แอบคำ, อัศฉรา ไชยยาและณรชาติ  มั่นศิลป์,2560,“การพัฒนาเทคนิคการวัดระยะยกเข็มหัวฉีดและช่วงเริ่มต้นการฉีดเชื้อเพลิง”,การประชุมวิชาการเครือข่าววิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย, ครั้งที่ 28, 15-17 ตุลาคม 2557, ขอนแก่น.
2.3. นาวี นันต๊ะภาพ, สิทธิพร เชี่ยวธาดา และยศพงษ์ ลออนวล,2557,“ผลกระทบของการปรับองศาการฉีดดีเซลต่อคุณลักษณะการเผาไหม้แบบน็อกของเครื่องยนต์เชื้อเพลิงร่วมแก๊สธรรมชาติและดีเซล”,การประชุมวิชาการเครือข่าววิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย, ครั้งที่ 31, 4-7 กรกฎาคม 2560, นครนายก.
 
3.การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
3.1.Koythong, C., Nuntapap, N., Pal, A., Songchon, S. and LaoonualY., 2012, “Investigation of Emission Characteristics of Diesel Fuel (DDF) Engine with Multi-Point Natural Gas Injection System”, 4th TSME International Conferenceon MechanicalEnginering, 24 – 27 October 2012, Chaingrai
3.2.Nuntapap, N., Singh, H., Kaewpradap A. and Laoonual Y., 2013, “An Investigation of Knock Characteristics of Dual FuelEngineNatural Gas and Diesel”,The 4th TSME InternationalConferenceon Mechanical Enginering,30 – 18 October 2013, Chonburi.
3.3.Kaewpradap, A., Patarasatid, P., Nuntapap N. and Laoonual Y.,2013, “Study oa Agricultural Engine for Predicting Engine by Thermodynamics Model ”,The 4th TSME International Conference Mechanical Enginering ,30 – 18 October 2013,Chonburi.
3.4. Nawee Nuntapap, Jatsada Saikhao, Tawatchai Kareo, Nawapong Banboo, Sutthipong Wangkitphaiboo,Ronnachart Munsin and Nattaporn Chaiyat.,2017, “The effects of exhaust gas temperature on 5-stroke engine performance”,The 9th International Conference on Sciences, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB2017),26– 28 June 2013,Chaina.
 
3.5.Narin Srithikarn, Nimit,Ronnachart, Ronnachart Munsin, Nawee Nuntapap, Tarapong Karnjanaparichat, Wasin Wongkum and Nattaporn Chaiyat.,2018, “Investigation of Fuel Delivery of Common Rail Injector using a Volumetric Injection Meter”,The 10th International Conference on Sciences, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB2018),9th– 11th May 2018,Lao PDR.
4.1.Ronachart Munsin and Nawee Nuntapap (2018). Effects of Water Injection on Performance of 5-Stroke SI Engine. RMUTP Research Journal, Rajamangala University of Technology Phra Nakhon, 12(1), pp 125-136.
4.2 กรีฑา  สุขทั่ง, พันธกานต์  เจียรทวีสิน, ชัชวาล  พงษ์สมบูรณ์, นาวี  นันต๊ะภาพ, ทวีศักดิ์  มหาวรรณ อัจฉรา  จันทร์ผงม สุรเชษฐ์  ชุติมา, สุรชัย  บวรเศรษฐนันท์, ยศพงษ์  ลออนวล และ วิศนุรักษ์  เวชสถล(2518). ศักยภาพเชิงพื้นที่สำหรับการใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าและการอบแห้องผลผลิตทางการเกษตรในภาคเหนือของประเทศไทย.วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.25(2).หน้าที่
5.เอกสารและข้อมูลสำคัญ
1.  เอกสารประกอบการสอนวิชาการวัดและเครื่องมือวัด เรียบเรียงโดย นายนาวี  นันต๊ะภาพ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา
2. การใช้โปรแกรม Labview 2013
   2.1 การใช้โปรแกรม NI-Multisim
3. การใช้โปรแกรม สำหรับ Arduino
4 VDO เกี่ยวกับกับวัดและเครื่องมือวัด
   4.1 การใช้งานMultimeter analog เบื้องต้น
        https://www.youtube.com/watch?v=mGDFBuhd-ik
   4.2 มัลติมิเตอร์แบบ Automotive Multimeter
        https://www.youtube.com/watch?v=ke2sTbYAXC0&t=33s
    4.3 การใช้ osiloscope แบบ Analog
       https://www.youtube.com/watch?v=ue_v4T-o-PA
    4.4 งานการวัด Digital oscilloscope
       https://www.youtube.com/watch?v=ELQtyTIW9YE
    4.5 การวัดทรานซิสเตอร์
      https://www.youtube.com/watch?v=VooxsCsr5pE
    4.6 วัดไดโอด
      https://www.youtube.com/watch?v=v3SZFam_PUk
    4.7 การวัดหาขา และการตรวจเช็ต SCR,Triac,Diac
     https://www.youtube.com/watch?v=T5hQ61zpe3w&t=130s
    4.8 การวัด mosfet
     https://www.youtube.com/watch?v=fldJQDw78rQ&t=18s
 
  การประเมินประสิทธิผลรายวชิานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ ความเห็นจากนักศึกษาได้นี้
-  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บขัอมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยทุธ์  ดังนี้
-  ผลการเรียนของนักศึกษา
-  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาขอ้มูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
-  การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
 ตั้งคณะกรรมการในสาขาวชิา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงานวิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4