ไฟฟ้าอุตสาหกรรมในงานวิศวกรรมเครื่องกล

Industrial Electrical in Mechanical Engineering

  ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากระแสตรง กระแสสลับ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง มอเตอร์กระแสสลบัการควบคุมมอเตอร์ การใช้ปรแกรมสำเร็จรูปในงานควบคุม และระบบควบคุม อตัโนมตัิ
ไม่มี
 ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากระแสตรง กระแสสลับ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงมอเตอร์กระแสสลบั การควบคุมมอเตอร์ การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในงานควบคุม และระบบควบคุม อตัโนมัติ
จดัเวลาใหคำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความตอ้งการ อย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสปัดาห์(เฉพาะรายที่ตอ้งการ)
1.1.1 มีวินัยตรงต่อเวลา รับผดิชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อขังคับต่างๆ มหาวทิยาลยัฯ
1.1.2 สามารถประเมินผลกระทบจากการใชัความรู้ทางวศิวกรรมต่อบุคคล  สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1   ปลูกฝังใหันักศึกษามีระเบียบวินัยปฏิติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้และ ปลูกฝังให้มีความรับผดิชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงต่อเวลา  การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจน การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวทิยาลยัฯ                 
1.2.2  ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวชิาชีพ   ความรับผดิชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อ บุคคล  สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3.1   การขานชื่อการใหค้ะแนนการเข้าชั้นเรียน  และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา
1.3.2   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
1.3.3   ความรับผดิชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4  การกระทำทุจริตในการสอบ
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวศิวกรรมพื้นฐาน เพื่อประยุกต์ใช้กับการศึกษาของรายวิชาทางวศิวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิตศาสตร์
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวชิา วิศวกรรมเครื่องกล กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4  สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาสถิตศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้  
  2.2.1  บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนงัสือใช้สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง   
  2.2.2   มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2.3.1  การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2  ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน  
3.1.1 สามารถคิดวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการ แก้ไขปัญหา ทางด้านวิศกรรมเครื่องกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.2  มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวตักรรมหรือ ต่อยอดองคค์วามรู้จากเดิมไดอ้ย่างสร้างสรรค์
3.1.3  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองคค์วามรู้ใหม่ๆ
3.2.1  กรณีศึกษาทางการประยกุตส์าขาวชิาวศิวกรรมเครื่องกล
3.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าจัดทำ รายงานทางเอกสารและนา เสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.3.2 ประเมินจากรายงานที่ไดร้ับมอบหมาย  และการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลในการ สื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่ เหมาะสม
4.1.2 สามารถวางแผนและรับผดิชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทาง วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 รู้จกัหน้ำที่และความรับผดิชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4.2.1  ปลูกฝังให้มีความรับผดิชอบต่อหน้าที่ที่ไดร้ับมอบหมาย 
4.2.2  ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า 
4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น  เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.3.1  ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันพฤติกรรมเป็นรายบุคคล  
4.3.2  ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.3.3  ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยมอบหมายงานให้การศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learningและส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.1 มอบหมายงานให้การศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learning
5.2.2  ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 การทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
5.3.2 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสรรสนเทศที่เหมาะสม
5.3.3  ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
นักศึกษาสามารถการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learningและสามารถค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.2.1 สามารถการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สื่อการสอน E- Learning
6.2.2  สามารถค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.3.1 สามารถการทดสอบย่อยสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
6.3.2 สามารถนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสรรสนเทศที่เหมาะสม
6.3.3  สามารถอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้และ ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเขาชั้นเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจน การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังของมหาวทิยาลัยฯ 2. ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวชิาชีพ ความรับผดิชอบในฐานะผปู้ระกอบวชิาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคลสังคมและสิ่งแวดล้มหากกระทำการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชีพ 1. บรรยาย โดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างในหนงัสือใช้สือการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง 2. มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน 1.กรณีศึกษาทางการประยุกต์สาขาวชิาวศิวกรรมเครื่องกล 2.ใหน้กัศึกษาค้นคว้าจัดทำรายงานทางเอกสารและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน 1 ปลูกฝังให้มีความรับผดิชอบต่อหน้าที่ไดัรับมอบหมาย 2. ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกโดยการถามคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอนและการนำเสนอรายงานที่ไดร้ับมอบหมายให้ค้นคว้า 3. ใชวิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นเพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นดว้ยเหตุผล 1. มอบหมายงานให้ศึกษาคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็ปไซด์สือการสอน E- Learning 2. ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาสามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและสามารถแบ่งความรับผิดชอบ
1 ENGME114 ไฟฟ้าอุตสาหกรรมในงานวิศวกรรมเครื่องกล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 การวดัอุปกรณ์อิเลก็ทรอนิกส์ สอบกลางภาค สอบเก็บคะแนนครั้งที่2 การใช้ออสซิโลสโคป สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ 4 9 13 และ18 5 20 5 40
2 งานที่มอบหมาย กลางภาค 1 งาน ปลายภาค 1 งาน ตรวจว่าตรงกับจุดมุ่งหมายของงาน 8 และ 15 20
3 การขานชื่อการให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ขานชื่อก่อนเข้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10
การวัดแระเครื่องมือวัด สมนึก  บุญพาไสว
  สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ทรอนิกส์ การวัดและเครื่องมือวัด
VDO การวัดอุปกรณ์อิเลก็ทรอนิกส์ พื้นฐาน
WWW.site.rmutl.ac.th/carl
  การประเมินประสิทธิผลรายวชิานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ ความเห็นจากนักศึกษาได้นี้
-  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บขัอมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยทุธ์  ดังนี้
-  ผลการเรียนของนักศึกษา
-  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาขอ้มูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
-  การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
 ตั้งคณะกรรมการในสาขาวชิา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงานวิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4