การเขียนแบบวิศวกรรมและอิเล็กทรอนิกส์

Electronic and Engineering Drawing

1.1.เข้าใจและรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนแบบวิศวกรรม
     1.2.เข้าใจอ่านแบบและเขียนแบบวิศวกรรม
     1.3.เข้าใจกระบวนการออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรม
     1.4.เข้าใจการเขียนภาพแผ่นคลี่และการเขียนภาพตัดได้
     1.5.สามารถประยุกต์ใช้ในงานทางวิศวกรรมและในสาขาที่เกี่ยวข้องได้
     1.6.สามารถเขียนสัญลักษณ์ทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้
     1.7.สามารถนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการออกแบบและเขียนแบบได้
     1.8.เห็นถึงความสำคัญในการเขียนแบบวิศวกรรม
เพื่อให้นักศึกษาปฏิบัติการเกี่ยวกับพื้นฐานในงานเขียนแบบและอ่านแบบ เข้าใจการเขียนภาพฉายการเขียนภาพไอโซเมตริก การเขียนภาพด้วยมือ การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพตัด การกำหนดขนาด การเขียนภาพแยกชิ้น พิกัดความคลาดเคลื่อน และพิกัดงานสวมมาตรฐานและสัญลักษณ์แบบใบงานวิศวกรรม สัญลักษณ์แบบต่าง ๆ ทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ แผนภาพทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ปฏิบัติการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปในงานออกแบบวิศวกรรม
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับพื้นฐานในงานเขียนแบบและอ่านแบบ การเขียนภาพฉายการเขียนภาพไอโซเมตริก การเขียนภาพด้วยมือ การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพตัด การกำหนดขนาด และลักษณะของผิวงาน การเขียนภาพประกอบ การเขียนภาพแยกชิ้น พิกัดความคลาดเคลื่อน และพิกัดงานสวมมาตรฐานและสัญลักษณ์แบบใบงานวิศวกรรม สัญลักษณ์แบบต่าง ๆ ทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ แผนภาพทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและห้องพักครู
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1    มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3    มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4    เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5   มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพและแสดงคุณธรรมออกซึ่งคุณธรรมในการปฏิบัติงาน
1.2.1   สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2   สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
1.2.3   เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.2.4   ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.5   เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของ
1.2.6   ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.7   ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2   ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.3   ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4   ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
1.3.5   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.6   ประเมินผลจากกรณีศึกษาและอภิปราย ด้านคุณธรรม จริยธรรม
2.1.1มีความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับปฏิบัติการเกี่ยวกับพื้นฐานในงานเขียนแบบและอ่านแบบ    
2.1.2 การเขียนภาพฉายการเขียนภาพไอโซเมตริก การเขียนภาพด้วยมือ
2.1.3 การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพตัด
2.1.4 การกำหนดขนาด และลักษณะของผิวงาน
2.1.5 การเขียนภาพประกอบ การเขียนภาพแยกชิ้น
2.1.6 พิกัดความคลาดเคลื่อน และพิกัดงานสวมมาตรฐาน
2.1.7 สัญลักษณ์แบบใบงานวิศวกรรม สัญลักษณ์แบบต่าง ๆ ทางด้านวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
2.1.8 แผนภาพทางวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
บรรยาย อภิปราย มอบหมายใบปฏิบัติงานตามแผนรายสัปดาห์ และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ฝึกทักษะการอ่านแบบวิศวกรรมและฝึกทักษะการเขียนแบบวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ให้สอดคล้องกับผู้เรียน
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจหลักการ การอ่านแบบและเขียนแบบวิศวกรรม
2.3.2   ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน
2.3.3   ประเมินจากใบปฏิบัติงานที่มอบหมายในรายสัปดาห์
3.1.1   พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.1.2   พัฒนาความคิด ความละเอียดรอบคอบ
3.2.1  การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด
3.2.2  การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
 3.2.3  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
 3.2.4  การมอบหมายงานใบปฏิบัติงาน
3.3.1   สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ
3.3.2   ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน
3.3.3   วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน
3.3.4   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
 4.1.2   พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.4   พัฒนาการมีมนุษยสัมพันธ์ภายในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนด้วยกัน
4.2.1   มอบหมายงานปฏิบัติในรายสัปดาห์ให้นักศึกษาทำงาน
 4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2   ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
4.3.4  ประเมินจากใบปฏิบัติงาน
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ผลของตัวอย่างวงจรที่กำหนดให้
5.1.4   พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตอย่างเป็นระบบ
 5.1.5   พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้เรียน และการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม 
5.1.6   พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.7  พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษาได้
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเอง และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังนั้นในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านครุศาสตร์อุตสาหกรรม ดังข้อต่อไปนี้
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
6.2.4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา 6
.2.5 สนับสนุนการทำโครงงาน
6.2.6 การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
6.3.3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
6.3.4 มีการประเมินโครงงานนักศึกษา
6.3.5 มีการประเมินนักศึกษาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1
1 32011101 การเขียนแบบวิศวกรรมและอิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, สอบกลางภาค ทดสอบย่อย สอบปลายภาค 9 13 17 20% 10% 20%
2 3.1,1.3,2.1 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 6.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
นานพ ตันตระบัณฑิตย์.เขียนแบบวิศวกรรม ระบบ ISOและเมตริก สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) กรุงเทพฯ พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ.2539
         ธีระยุทธ  สุวรรณประทีป,สันติ ลักษิตานนท์ , เขียนแบบวิศวกรรมเบื้องต้น ,บริษัทวิทยพัฒน์จำกัด
กรุงเทพฯ พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ.2540
        ธนบูรณ์  ศศิภานุเดช , อนะพงศ์  นพวงค์ ณ.อยุธยา,การเขียนแบบไฟฟ้า หจก.เอช-เอนการพิมพ์
กรุงเทพฯ พ.ศ.2536
        จำรูญ  ตันติพิศาลกุล เขียนแบบวิศวกรรม 1 บริษัท เอสอาร์ แพสโปรดักส์ จำกัด
กรุงเทพฯ พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ.2543
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.1      การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2      แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
5.1   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
5.2   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4