ระเบียบวิธีการวิจัย

Research Methodology

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับนำเสนอการวางแผนงานวิทยานิพนธ์ การทบทวนวรรณกรรมงานวิจัย การเขียนเชิงเทคนิคและวิทยาศาสตร์สำหรับข้อเสนอโครงการวิทยานิพนธ์ รายงานวิทยานิพนธ์ การนำเสนอ บรรยายทางเทคนิค การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ใหม่ กรณีศึกษาจากอุตสาหกรรมที่นักศึกษาสนใจ พร้อมทั้งวิเคราะห์ เสนอแนวคิดและแนวทางจัดการปัญหา
ไม่มี
นำเสนอการวางแผนงานวิทยานิพนธ์ การทบทวนวรรณกรรมงานวิจัย การเขียนเชิงเทคนิคและวิทยาศาสตร์สำหรับข้อเสนอโครงการวิทยานิพนธ์ รายงานวิทยานิพนธ์ การนำเสนอ บรรยายทางเทคนิค การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ใหม่ กรณีศึกษาจากอุตสาหกรรมที่นักศึกษาสนใจ พร้อมทั้งวิเคราะห์ เสนอแนวคิดและแนวทางจัดการปัญหา
ไม่มี
1.มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
2.มีทักษะการจัดการและวินิจฉัยปัญหาที่ซับซ้อนทางคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ โดยประยุกต์ใช้ความรู้ หลักฐาน เหตุผลและมีวิจารณญาณได้อย่างเหมาะสมด้วยตนเอง รวมทั้งสนับสนุนผู้อื่นให้มีการใช้คุณธรรม จริยธรรมในการจัดการ
3.มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
4.มีภาวะเป็นผู้นำ สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ แก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ
1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง
2. การอภิปราย
3. การแสดงออกทางพฤติกรรม
4. กิจกรรม
สังเกตุพฤติกรรม
1.มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระหลักทั้งพื้นฐานและทฤษฎีที่สำคัญของสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงานและวัสดุ และสามารถประยุกต์ความรู้ได้อย่างเหมาะสม
2.มีความรู้และทักษะในการใช้เครื่องมือเฉพาะทางหรือเครื่องมือเพื่อคำนวณทางวิศวกรรมพลังงานและวัสดุ
3.มีความเข้าใจต่อการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ สาขาวิชาวิศวกรรมพลังงานและวัสดุ ที่สอดคล้องกับวิทยานิพนธ์หรือโครงการวิชาการ ตระหนักถึงผลกระทบขององค์ความรู้นั้นต่อสภาพปัจจุบันและอนาคต
4.มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในทฤษฎี และ/หรือการออกแบบ การปฏิบัติ และเทคนิคการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์หรือโครงการวิชาการ เพื่อหาข้อสรุปแนวทางการทำงานที่เหมาะสม และสามารถบูรณาการความรู้ทางสาขาวิชาวิศวกรรมพลังงานและวัสดุ และศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. การบรรยาย 2. การอภิปราย 3. การสอนแบบสัมมนา (Seminar)
1. การสอบข้อเขียน 2. การสอบปากเปล่า 3. การสอบทักษะ
1.สามารถวางแผน กำหนดกรอบแนวคิดและวิธีดำเนินงานในการทำวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์หรือโครงการทางวิชาการอย่างเป็นระบบได้ด้วยตนเอง
2.สามารถดำเนินงานวิจัยหรือโครงการทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์ด้วยตนเอง โดยใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและ/หรือภาคปฏิบัติ ดุลยพินิจ เทคนิควิจัยหรือเทคนิคคำนวณ และการวิเคราะห์ เพื่อหาข้อสรุปที่สมบูรณ์ที่ขยายองค์ความรู้เดิมหรือแนวทางปฏิบัติได้อย่างมีนัยสำคัญ
3.สามารถสืบค้น ตีความ และใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและ/หรือภาคปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือจัดการกับบริบทใหม่ทางวิชาการและวิชาชีพด้านวิศวกรรมพลังงานและวัสดุ
4.สามารถสังเคราะห์และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ทางด้านวิศวกรรมพลังงานและวัสดุ ได้อย่างสร้างสรรค์จากองค์ความรู้เดิม
1. การสรุปประเด็นสำคัญ หรือการนำเสนอผลของการสืบค้นที่ได้รับมอบหมาย
2. การสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน (Research-based instruction
4. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative learning) 5. การให้คำปรึกษารายบุคคล
ุ6. การใช้สถานการณ์จำลอง (Simulation)
1. การสอบปากเปล่า 2. การประเมินกระบวนการทำงาน/บทบาทในการทำกิจกรรม 3. การนำเสนอปากเปล่า
1.มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเองและ/หรืองานกลุ่ม
2.สามารถตัดสินใจในการดำเนินงานได้ด้วยตนเองและประเมินผลงานของ ตนเองได้
3.สามารถวางแผนเพื่อพัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานทั้งของตนเองและ/หรืองานกลุ่ม
4.สามารถแสดงความเป็นผู้นำได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนแบบสัมมนา (Seminar)
2. เรียนรู้ด้วยตนเอง
3. การใช้กรณีศึกษา
4. การอภิปราย
1. การประเมินกระบวนการทำงาน/บทบาทในการทำกิจกรรม
2. สังเกตพฤติกรรม
1.มีทักษะในการใช้เครื่องมือด้านคณิตศาสตร์และสถิติ ในการจัดการข้อมูลและเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
2.สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ ร่วมกับองค์ความรู้ในการประมวล การแปลความหมาย การวิเคราะห์ข้อมูลผลการทดลองเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางวิศวกรรมพลังงานและวัสดุ
3.สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพกับกลุ่มบุคคลหลากหลาย โดยใช้การสื่อสารด้วยปากเปล่าและการเขียน การนำเสนอรายงานทั้งในแบบทางการและไม่เป็นทางการ
4.สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และ การสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. การสรุปประเด็นสำคัญ หรือการนำเสนอผลของการสืบค้นที่ได้รับมอบหมาย
2. อภิปราย
3. สัมมนา
1. การสอบข้อเขียน 2. การสอบปากเปล่า 3. การนำเสนอปากเปล่า
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ให้นักศึกษาประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย ใน 4 ด้าน คือ
1. ด้านการสอน
2. ด้านสื่อ
3. ด้านการประเมิน
4. ด้านปกครอง
ประเมิน 5 ด้าน ตาม มคอ.2 คือ
- คุณธรรม จริยธรรม
- ความรู้
- ทักษะทางปัญญา
- ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
-  ทักษะด้านการวิเคราะห์ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ทักษะพิสัย
- ไม่มี
1. ตรวจสอบจากการสอบ
2. ตรวจสอบจากงานที่มอบหมาย
3. ตรวจสอบจากข้อคิดเห็นของนักศึกษา
- ควรมีการเพิ่มเติม หรือแนะนำ แหล่งทรัพยากร และการใช้สารสนเทศของมหาวิทยาลัย
เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาได้ใช้ประกอบการเรียนในรายวิชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ