คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า

Electrical Engineering Mathematics

1.1    เข้าใจทฤษฎีและการนำมาใช้งานของตัวแปรเชิงซ้อน 1.2    เข้าใจทฤษฎีของเวคเตอร์ การวิเคราะห์เวคเตอร์พร้อมทั้งการนำมาใช้งาน 1.3    เข้าใจวิธีการอนุกรมฟูเรียร์ และการนำมาวิเคราะห์รูปคลื่นทางไฟฟ้า 1.4    เข้าใจวิธีการแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์โดยวิธีการแปลงลาปลาซและนำมาแก้ปัญหาทางวงจรไฟฟ้า 1.5          เห็นความสำคัญของการคิดคำนวณเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
2.1    ปรับปรุงกระบวนการจักการเรียนการสอน โดยใช้กรอบแนวคิดแบบ CDIO มาประยุกต์ใช้ โดยการเลือกหน่วยเรียน/บทเรียนที่เหมาะสมสำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เป็นแนวทาง 2.2    ปรับปรุงวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับกิจกรรมในการจัดการเรียนการสอน
ศึกษาเกี่ยวกับ การใช้งานของตัวแปรเชิงซ้อน การวิเคราะห์เวคเตอร์และการนำไปใช้ ทฤษฎีอนุกรมฟูเรียร์และการนำไปใช้ในการวิเคราะห์รูปคลื่นไฟฟ้า การแปลงฟูเรียร์ ทฤษฎีการแปลงลาปลาซ และการนำไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
 -     อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านป้ายประกาศของสาขาวิชา  -    อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในสร้างหรือใช้ซอฟแวร์ด้วยความรู้จากระเบียบวิธีเชิงเลข อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับการคำนวณแบบต่าง ๆ อภิปรายกลุ่มหรือรายบุคคล กำหนดให้นักศึกษาหาแบบฝึกหัดที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลาข้อง มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา ประเมินผลการนำเสนอรายงานแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
นักศึกต้องมีความรู้เกี่ยวกับวิชา คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า  มีคุณธรรม จริยธรรม ต้องเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้ เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคม ดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้                    (1)    อธิบายทฤษฎีและการนำมาใช้งานของตัวแปรเชิงซ้อน                    (2)    อธิบายทฤษฎีของเวคเตอร์ การวิเคราะห์เวคเตอร์พร้อมทั้งการนำมาใช้งาน                    (3)    อธิบายวิธีการอนุกรมฟูเรียร์ และการนำมาวิเคราะห์รูปคลื่นทางไฟฟ้า                    (4)    อธิบายวิธีการแก้ปัญหาสมการเชิงอนุพันธ์โดยวิธีการแปลงลาปลาซ และนำมาแก้หาทางวงจรไฟฟ้า การทดสอบมาตรฐานนี้สามารถทำได้ โดยการทดสอบจากข้อสอบของวิชา คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า  ในชั้นเรียนตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร
บรรยาย  อภิปราย สาธิตแต่และทดสอบ กำหนดทำงานกลุ่มหรือรายบุคคล การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาตัวอย่าง ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.1 ทดสอบย่อยท้ายบทเรียน
 2.2  แบ่งการสอบ ออกเป็นทีละหน่วย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เน้นให้นักศึกษาคิดหา      เหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง     ไม่ใช่ลักษณะท่องจำ
มอบให้นักศึกษา ทำแบบทดสอบพิเศษ ที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
ผลสอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ปัญหาโจทย์ วัดผลจากการประเมินผลสอบกลางภาคและปลายภาค
                                   3.  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
บรรยาย  อภิปราย สาธิต แต่ละทดสอบย่อย มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล การนำเสนอแบบฝึกหัด
ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
                                   3.  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ทักษะการคิดคำนวณ พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ เชิงตัวเลข พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
                                   4.  พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ทักษะการคิดคำนวณ พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ เชิงตัวเลข พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องคำนวณหรือโปรแกรมทางคณิตศาสตร์
                                   3.  พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
    1.  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร                                     2.  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล                                     3.  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน                                     4.  มีจรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม
ทักษะในการคำนวณ
ให้จดจำสูตรและกระบวนการในการแก้ปัญหาโจทย์
สอบย่อย, สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ธีระยุทธ  บุนนาค . UUUUเอกสารประกอบการบรรยายวิชาคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า1UUUU.        มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาวิทยาเขตพายัพ.เชียงใหม่: ม.ป.ท. นิรันดร์  คำประเสริฐ .UUUUคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า
อนุกรมฟูเรียร์ และฟูเรียร์ทรานสฟอร์มUUUU.  กรุงเทพฯ  :  ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ,  2537. นิรันดร์  คำประเสริฐ.UUUUคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า
ลาปลาสทรานสฟอร์มและการประยุกต์ใช้UUUU.  กรุงเทพฯ  :  ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ,  2537. นิรันดร์  คำประเสริฐ. UUUUคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า
การวิเคราะห์เชิงซ้อน เล่ม 1UUUU.  กรุงเทพฯ  :  ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ,  2537.
พฤทธิ์  พุทธางกุล  และพิพัฒน์   พัดคุ้ม. UUUUวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 1UUUU . กรุงเทพฯ  :  โครงการพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี,  2521.
พฤทธิ์  พุทธางกุล  และพิพัฒน์   พัดคุ้ม. UUUUวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 2UUUU . กรุงเทพฯ  : 
โครงการพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี,  2521.
ไพรัช  ธัชยพงษ์. UUUUวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 2UUUU . กรุงเทพฯ  :  อีเลคทรอนิคส์เวิลด์, 2525.
วรางคณา  ร่องมะรุด.  UUUUการวิเคราะห์เวกเตอร์UUUU.  มหาวิทยาลัยรามคำแหง  :  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  2538.
Hsu,  Hwei  P.,  UUUUVector  AnalysisUUUU.   New York  : 
Simon and Schuster, 1969.
Joseph, A.E.  and  JE  SWANN.  UUUUElectric  CircuitUUUU. New York  :  McGraw-Hill, 1975.
Kreyszig,  E.,  UUUUAdvanced Engineering MathematicsUUUU.   New York  : 
John  Wiley  and Sons, 1988  (sixth edition) Lathi,  B.P.,  UUUUSignals,  Systems  and  CommunicationsUUUU.   New York  : 
John  Wiley  and Sons,  1965. Michael,  D.C.,  UUUUCommunication SystemsUUUU.   New York  :  McGraw-Hill, 1975.
Paliouras,  J.  D.,  UUUUComplex  Variables for Scientists and EngineersUUUU.   : 
Macmillan Publishing Co., Inc., 1975. Simons,  S.,  UUUUVector Analysis for mathematicians, Scientists and EngineersUUUU.   London  :  Pergamon  Press Ltd., 1970.
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.   กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา       การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้        1.1   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน        1.2   แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา        1.3   ข้อเสนอแนะระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.   กลยุทธ์การประเมินการสอน       ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้        2.1   การสังเกตการณ์เรียนของนักศึกษา        2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา        2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.   การปรับปรุงการสอน       หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้        3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน        3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.   การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา       ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้        4.1   การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร        4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.   การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา       จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้        5.1   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ                สะท้อนผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับนักศึกษา        5.2   ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบ มาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ข้อ 4.