การจัดการการค้าปลีก

Retailing Management

ศึกษาความหมาย  วัตถุประสงค์  ความสำคัญของการจัดการการค้าปลีก  ปัจจัยประเภทต่าง ๆ และหลักเกณฑ์ในการค้าปลีก  การบริหารการค้าปลีก  ทำเลที่ตั้ง  การจัดรูปองค์กร  การดำเนินงาน  การส่งเสริมการขาย  การกำหนดราคาและเทคนิคการขายพร้อมทั้งเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยและเหมาะสมกับการค้าปลีก
1.  เพื่อศึกษาถึงวัตถุประสงค์ของการจัดการการค้าปลีก
2.  เพื่อศึกษาถึงความสำคัญของการจัดการการค้าปลีก
3.  เพื่อศึกษาถึงปัจจัยประเภทต่าง ๆ และหลักเกณฑ์ในการค้าปลีก
 
ศึกษาความหมาย  วัตถุประสงค์  ความสำคัญของการจัดการการค้าปลีก  ปัจจัยประเภทต่าง ๆ และหลักเกณฑ์ในการค้าปลีก  การบริหารการค้าปลีก  ทำเลที่ตั้ง  การจัดรูปองค์กร  การดำเนินงาน  การส่งเสริมการขาย  การกำหนดราคาและเทคนิคการขายพร้อมทั้งเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยและเหมาะสมกับการค้าปลีก 
3 คาบต่อสัปดาห์
1.  มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม  คุณธรรรมและจรรณยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ  มีจิตสำนึกสาธารณะ  ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมแสียสละไม่เอารัดเอาเปรียบซือสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
2.  มีความพอเพียงมีวินัยขยันอดทนเพียรพยายามตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อมมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
3.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบ  และข้องบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
4.  มีภาวะเป็นผู้นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
5.  มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
6.  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม
มีการจัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม  มีการสอดแทรกหลักจรรณยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา  รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา  ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด  ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลยและอธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน  มีการมอบหมายงานกลุ่ม  เน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม  เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น  รวมถึงเปิดโอกาศให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา  กรุณา  ความเสียสละ  และการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
1.  ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
2.  ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม
3.  ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4.  สังเกตุพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
5.  ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฏี  และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื่อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม  และพัฒนาความรู้  ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องประยุกต์ใช้ความรู้  ทักษะ  ในการวิเคราะห์ปัญหา  เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา  รวมทั้งประยุกต์ความรู้  ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
3.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน  การจัดโครงสร้างองค์การ  การปฏิบัติการ  การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
4.  มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจรวมทั้งมีความเข้าใจในสุถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
5,  สามารถวิเคราะห์  ออกแบบ  ติดตั้ง  ปรับปรุงหรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด
6.  สามารถติดต่อตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์
7.  รู้  เข้าใจ  และสนใจพัฒราความรู้  ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
8.  มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง
9  มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในงานได้จริง
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริง  โดยมอบหมายให้ทำรายงานโครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน  รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง  นอกจากนันยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฏีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริ  และการบรรยายในชั้นเรียน ถามตอบ
1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.  รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
3.  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงหรือสถานการณ์จริง
4,  ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
5.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
6.  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค
1.  สามารถสืบค้น  ตีความ  วิเคราะห์ข้อมูล  และประเมินสารสนเทศ  จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์  ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ  และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
2.  สามารถคิดค้นทางเลือก  วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์  ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.  คิดอย่างมีวิจารณาและเป็นระบบ  สร้างสรรค์  และมีเหตุผลสามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา  และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
4.  สามารถรวบรวม  ศึกษา  วิเคราะห์  และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
5.  สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1.  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ  การเรียนการสอนกับการทำงาน
2.  กรณีศึกษาทางการจัดการโครงงานงานวิจัยและกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม
3.  การศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
4.  การมอบหมายงานการแก้ไขปัญหาจากการกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
5.  จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา  ความคิดการวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา
ประเมินจากการนำเสนอโครงงานรายงานผลการวิจัยอภิปรายกรณีศึกษาและประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบโดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหาอธิบายแนวคิดการแก้ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา  รวมถึงประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
1.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ  ยอมรับฟัง  และเคารพความคิดเห็นของอื่น  รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
2.  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม  แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์  เอื้อต่อการแก้ไขปํญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
3.  มีความสามารถในการประสานงาน  การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน  ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
5.  สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
7.  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม  พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
1.  ใช้การสอนโดยสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่าง ๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
3.  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
4.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา
5.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
1.  การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค
2.  ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรรมกลุ่มของนักศึกษา
3.  ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.  สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
5.  ใช้ผลการประเมินจาการฝึกงานและการทำสหกิจศึกษา
1.  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์  สถิติ  การวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ  และชีวิตประจำวัน
2.  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ  เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง  ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ
3.  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.  มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.  สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
6.  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม  และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
2.  มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.  ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
4.  ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
5.  บูรณาการใช้คอมพิวเตอร์  เครือข่าย และซอฟ์แวร์หรือสิ่งต่างๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้
1.  การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค
2.  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคลและเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
3.  ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.  ประเมินจากการสรุปและอภิปรายรายงาน  กิจกรรมี่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข  ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
1.สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
1.จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ  ด้านการวางแผน  การจัดโครงสร้างองค์กร  การปฏิบัติการ  การควบคุมและการผลการดำเนินงาน  รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
1.การนำเสนอผลงาน  หรือโครงงานโดยการเลือกใช้ภาษา  การสื่อสารในบริบทต่างๆ เพื่อคิดวิเคราะห์  แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ -การสอบกลางภาค -การสอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 17 25% 25%
2 2.1.2 3.1.1 4.1.1 4.1.2 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ -งานที่มอบหมาย/รายงานกลุ่ม -แบบฝึกหัด/กรณีศึกษา -การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20% 10% 10%
3 1.1.1 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน -การเข้าชั้นเรียน/การมีส่วนร่วม/การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
การบริหารธุรกิจการค้าปลีกสมัยใหม่  ฐายิกา  กสิวิทย์อำนวย  สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น พฤติกรรมผู้บริโภคกับธุรกิจค้าปลีก  เหมือนจิต  จิตสุนทรชัยกุล  สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น
นิตยสารทางธุรกิจ หนังสือพิมพ์ทางธุรกิจ หนังสือเกี่ยวกับการบริหารจัดการธุรกิจการค้าปลีก เว็บไซด์ต่าง ๆ
 
เอกสารของสถานประกอบการการค้าปลีกต่าง ๆ  
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรรมในการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้                                                                              1.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ                                                                                                                                                                                1.2 การประเมินการสอนโดยนักศึกษา(ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ                                                                                                                                                    1.3 การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ขัอเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ 2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงงานที่ได้รับมอบหมาย 2.3 การสังเกตุการณ์ตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอนแก้ไข
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมเป็นการระดมสมอง และหาข้อมูลเพ่ิมเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา 3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้ 4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา 4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา(ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย) 4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมินตาม มคอ.3/มคอ.5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ 4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงานและรายงานโครงการ การให้คะแนนที่มาของเกรดโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสำฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพืื่่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 รายงานผลการทวนสอบฯส่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา 5.2 นำผลการทวนสอบฯใปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไปโดยอาจารย์ผู้สอน 5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร