การเพาะเห็ด

Mushroom Culture

1. เข้าใจชีววิทยาและวิธีการทำหัวเชื้อเพาะเห็ดชนิดต่างๆ
2.วางแผนการเพาะเห็ดชนิดต่างๆ
3. เช้าใจวิธีการเก็บเกี่ยว การจำหน่าย และการใช้ประโยชน์จากเห็ด
4. เข้าใจโรคศัตรูเห็ดและความเป็นพิษของเห็ด
5. มีทักษะในการเพาะเห็ด
6. เห็นความสำคัญของการนำความรู้ทางด้านการเพาะเห็ดไปใช้ในการทำงานและประกอบอาชีพ
เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางพืชศาสตร์ ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเพาะเห็ดได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนำไปทำเป็นธุรกิจได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเห็ด ชีววิทยาและวงจรชีวิตเห็ด เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการทพหัวเชื้อเห็ด การเก็บรักษา การถนอมและการแปรรูปเห็ด ศัตรูเห็ดและการป้องกันกำจัด เห็ดพิษและความเป็นพิษ
1 ชั่วโมง
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติ     ที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และรับฟังความคิดเห็นของ     นักศึกษา การเคารพ และให้เกียรติแก่อาจารย์อาวุโส เป็นต้น
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในโอกาสที่สาขา/คณะจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส และอาจารย์ 
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และ        การส่งรายงาน
- ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศีกษาอื่นๆ ในรายวิชา
- นักศึกษาประเมินตนเอง
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 ˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยาย ร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม  การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต  การสอนแบบ e-Learning เป็นต้น
- การสอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- ทำรายงานรายบุคคล
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL)
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความ  น่าเชื่อถือและความเป็นไปได้   
- มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
- รายงานกลุ่ม
- การสอบข้อเขียนกลางภาค และปลายภาค
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก
- มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
- กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
- ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานกลุ่มของนักศึกษา
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล       และด้านความรับผิดชอบ
- ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่นๆ ในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
-ใช้  Power point  
-มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
-การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
-การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจาโดยการออกเสียงและการใช้ภาษาให้ถูกต้อง
-ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน
- ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.3, 2.2, 3.1, 4.3, 5.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 60%
2 1.2, 2.1, 5.3 -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -ประเมินผลงานการทำ งานกลุ่ม การนำเสนอหน้าชั้นเรียน -การส่งงานตามที่มอบหมายรายบุคคล -ประเมินผลงานการทำ งานจากรายงาน พร้อมนำ เสนอหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 -คุณธรรม จริยธรรม -การเข้าชั้นเรียน(บันทึกเวลาการมาเรียน) -สังเกตพฤติกรรมจากการมีส่วนร่วมในชั้น เรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ชาญยุทธ์ ภานุทัต และนงนุช แตงทรัพย์ . 2538. เทคนิคการเพาะเห็ด. กรมสงเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ. 46 หนา.
ดีพร้อม ไชยวงศเกียรติ. 2532. การเพาะเห็ดบางชนิดในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 188 หนา.
ดีพร้อม ไชยวงศเกียรติ. 2539. การเพาะเห็ดหลินจือ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 80 หนา.
บุญทา วรินทร์รักษ์ . 2526. การทำเชื้อและการเพาะเห็ด. มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปญญา โพธิ์ฐิติรัตนและ กิตติพงษศิริวานิชกุล.   
        2537. เทคโนโลยีการเพาะเห็ด. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ. 421 หนา.
ภาควิชาจุลชีววิทยา. 2542. จุลชีววิทยาปฏิบัติการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.
วิฑูรย์ พลาวุฑฒ์ . 2527. การทำเชื้อและการเพาะเห็ด. วิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช.
อนงค์ จันทรศรีกุล. 2520 เห็ดเมืองไทย. สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ.
อานนท์ เอื้อตระกูล. 2522. การเพาะเห็ดฟางฉบับสมบูรณ์. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.   
อุราภรณ์ สอาดสุด และ สมศรี หล้าบุดดา .2551. การผลิตหัวเชื้อและก้อนเชื้อเห็ดเศรษฐกิจ การเพาะเห็ด
        สกุลนางรม. เอกสารประกอบการฝึกอบรมโครงการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีสถาบันวิจัยและ
        พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
เฉลิมพงศ์ ดีประเสริฐกุล. 2525. การเปรียบเทียบอาหารที่ใช้วุ้นและคาราจีแนนในการเลี้ยงเส้นใยเห็ด บางชนิด. ปัญหาพิเศษปริญญาตรีภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ชริดา ปุกหุต. 2529. การคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดฟางโดยวิธีเพาะเลี้้ยงสปอร์เดี่ยว. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.  นันทินี ศรีจุมปา และเสกสรร สีหวงษ์. 2545. การใช้หญ้าบางชนิดเป็นวัสดุเพาะเห็ดตระกูลนางรม. ว.วิชาการเกษตร 20(1): 3-8. ปัญญา โพธิ์ฐิติรัตน์และ กิตติพงษ์ศิริวานิชกุล. 2537. เทคโนโลยีการเพาะเห็ด. สำนักพิมพ์รั้้วเขียว, กรุงเทพฯ. พงษ์เทพ วิไลพันธ์.2540. จุลชีววิทยาประมง ห้องปฏิบัติการและวิธีการตรวจวิเคราะห์. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. วิฑูรย์ พลาวุฑฒ์. 2527. การทำเชื้้อและการเพาะเชื้้อเห็ด. วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเกษตรนครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช. ษราวดี รัศมีภูติ. 2544. ผลของอุณหภูมิ pH และแสง ต่อการเจริญของเส้นใยเห็ดนางรมฮังการี. ปัญหาพิเศษปริญญาตรีภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. สำเภา ภัทรเกษวิทย์. 2546. เห็ดเมืองหนาว. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ฟันนี่ พับบลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. Brody, J. 1965. Fishery By-Product Technology. The AVI Publishing Company lnc., Westport, Connecticut. ใน พงษ์เทพ วิไลพันธ์. 2540.จุลชีววิทยาประมง ห้องปฏิบัติการและวิธีการตรวจวิเคราะห์. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

Chang, S.T. and P.G. Miles. 1989. Edible Mushrooms and Their Cultivation. CRC Press. Boca Raton, Florida
-
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินจากผลการสอบและการทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงกิจกรรมในการสอนให้มากขึ้น เช่น ทักษะในการเพาะเห็ดบางชนิดที่ต้องอาศัยปัจจัยประกอบอื่นๆ เป็นต้น
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4